ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Dytoy/กระบะทราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
}}
 
'''เจดีย์โบตทอง''' ({{lang-my|ဗိုလ်တထောင်ဘုရား}} {{IPA-my|bòtətʰàʊɴ pʰəjá|}}; รู้จักกันในชื่อ '''เจดีย์โบตะทาว'''; หมายถึง "ทหาร 1,000 นาย") is a famous เป็นเจดีย์ที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งตั้งอยู่ในย่านใจกลางเมือง[[pagodaย่างกุ้ง]] located in downtown [[Yangonประเทศพม่า]], ใกล้[[Myanmarแม่น้ำย่างกุ้ง]], near the เจดีย์ถูกสร้างขึ้นครั้งแรกโดย[[Yangon riverชาวมอญ]].ช่วงเวลาเดียวกันกับเจดีย์ชเวดากอง Theตามความเชื่อท้องถิ่นสร้างเมื่อกว่า pagoda2,500 wasปีที่ผ่านมา firstและเป็นที่รู้จักในชื่อภาษามอญว่า builtไจเดอัต by the [[Mon people({{lang-en|Mon]] around the same time as was Shwedagon Pagoda—according to local belief, over 2500 years ago, and was known as Kyaik-de-att}}) in เจดีย์กลวงภายในและเชื่อว่าเป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุ[[Mon languageพระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธเจ้า]]. The pagoda is hollow within, and houses what is believed to be a sacred hair of [[Gautama Buddha]].<ref name=mti>{{cite web|url=http://myanmartravelinformation.com/mti-yangon/botahtaung.htm |title=Botataung Pagoda |accessdate=2009-02-05 |publisher=Myanmar Travel Information Committee |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20090101093817/http://myanmartravelinformation.com/mti-yangon/botahtaung.htm |archivedate=January 1, 2009 }}</ref><ref name="Botah"/><ref name="mmtimes"/>
 
เจดีย์โบตทองได้ถูกทำลายลงในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]และได้ถูกบูรณะใหม่หลังสงคราม<ref name="gothailand"/><ref name="Botah"/><ref name="mmtimes"/>
 
== ประวัติ ==
เป็นเจดีย์ที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งตั้งอยู่ในย่านใจกลางเมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า ใกล้แม่น้ำย่างกุ้ง เจดีย์ถูกสร้างขึ้นครั้งแรกโดยชาวมอญช่วงเวลาเดียวกันกับเจดีย์ชเวดากอง ตามความเชื่อท้องถิ่นสร้างเมื่อกว่า 2,500 ปีที่ผ่านมา และเป็นที่รู้จักในชื่อภาษามอญว่า ไจเดอะเจตี ကျိုက်ဒေးအပ်စေတီ= ကျာ်ဒဵုအပ် เจดีย์กลวงภายในบ้านและสิ่งที่เชื่อว่าจะเป็นผมศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธเจ้า
ตามตำนานกษัตริย์มอญนามว่าโอกะละปาได้ให้นายทหารระดับแม่ทัพ 1,000 นาย ตั้งแถวถวายสักการะพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้าที่พ่อค้าสองพี่น้อง ตปุสสะและภัลลิกะ อัญเชิญมาทางเรือจาก[[ประเทศอินเดีย]] และมาขึ้นฝั่งเมืองตะเกิงหรือดากอง ณ บริเวณนี้เมื่อ 2,000 ปีก่อน จึงสร้างเจดีย์โบตทองไว้เป็นที่ระลึก พร้อมทั้งแบ่งพระเกศา 1 เส้นมาบรรจุไว้ ก่อนนำไปบรรจุใน[[เจดีย์ชเวดากอง]]และเจดีย์สำคัญอื่น ๆ<ref name="gothailand">[https://ghttp://gothailandgoasean.tourismthailandorg/th/สักการะและขอพรเทพทันใจที่เจดีย์โบดาทาวน์-ณ-กรุงย่างกุ้ง/ เจดีย์โบดาทาวน์ ณ กรุงย่างกุ้ง]</ref><ref name="Botah">[https://myanmartravelinformation.com/yangon-where-to-visit/botahtaung-pagoda.html Yangon Visit Botahtaung Pagoda]</ref><ref name="mmtimes">[https://www.mmtimes.com/national-news/yangon/3400-history-lures-visitors-to-botahtaung-pagoda.html History lures visitors to Botahtaung Pagoda. Myanmar Time]</ref>
 
=== สงครามโลกครั้งที่ 2 ===
เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 ช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เจดีย์ได้ถูกทำลายลงเพราะการทิ้งระเบิดโจมตีท่าเรือเมืองย่างกุ้งของกองทัพอากาศอังกฤษ (RAF) เจดีย์ถูกทิ้งไว้ในซากปรักหักพังสีดำ<ref>[https://albinger.me/2016/08/31/yangons-botataung-paya/ yangons botataung paya]</ref><ref name="mmtimes"/>
 
=== การบูรณะ ===
The Botataung Pagoda was completely destroyed during [[World War II]], and was rebuilt after the war.
การบูรณะเจดีย์เริ่มต้นขึ้นในวันเดียวกันกับที่ประเทศพม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษคือ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 หลังจากที่นำซากปรักหักพังออกจากพื้นดินแล้วจึงเริ่มกระบวนการขุดที่ความลึกประมาณเจ็ดฟุต เพื่อสร้างฐานรากของเจดีย์องค์ใหม่ มีการขุดค้นเพิ่มเติมบริเวณใจกลางพื้นที่ที่ระดับความลึกสามฟุต พบกรุที่สร้างขึ้นอย่างดีและมีขนาดค่อย ๆ ลดลงจากด้านบน และปรากฎผอบขนาดใหญ่วางกลับด้านครอบทับสิ่งที่อยู่ภายใน ใจกลางกรุพบผอบหินทรงสถูป มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 23 นิ้วและสูง 39 นิ้ว รอบ ๆ ผอบพบรูป [[นะ (วิญญาณ)|นะ]] ที่แกะสลักจากศิลาแลงเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้พิทักษ์รักษา ผอบถูกพบฝังอยู่ในโคลนเพราะมีน้ำซึมเข้ามาในกรุตลอดช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมา<ref name=uog>{{cite journal | title=Shrines of Burma: The Botataung Pagoda | url=http://www.triplegem.plus.com/botataun.htm | accessdate=2009-02-12 | year=1953 | volume=1 | issue=2 | author=Ohn Ghine | deadurl=yes | archiveurl=https://web.archive.org/web/20071113002844/http://www.triplegem.plus.com/botataun.htm | archivedate=2007-11-13 | df= }}</ref>
 
ภายในกรุที่เก็บผอบหินทรงสถูปพบสมบัติล้ำค่าหลายชนิดเช่น อัญมณี, เครื่องประดับ, เพชรพลอย, จารึกดินเผา, และพระพุทธรูปทองคำ, เงิน, ทองเหลือง, หิน พระพุทธรูปจำนวนทั้งหมดภายในและภายนอกผอบราวกว่า 700 องค์ จารึกดินเผาบางส่วนกล่าวถึงการรักษาธรรมและเรื่องราวทางพุทธศาสนา<ref name=uog/>
 
หนึ่งในแผ่นดินเผาที่ได้จากกรุซึ่งมีรูปพระพุทธรูปและแม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากอายุและความชื้นก็ตาม ด้านหลังมีตัวอักษรที่ถูกจารึกไว้ซึ่งใกล้เคียงกับ[[อักษรพราหมี]]แถบอินเดียตอนใต้ เป็นหลักฐานสำคัญของสมัยโบราณและได้รับการตีความโดย อูลูเปวิน ผู้อำนวยการนักโบราณคดี สมัยรัฐบาล[[สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (พ.ศ. 2491–2505)|สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า]] ซึ่งชี้ให้เห็นคำว่า "e" จาก "evam vadi" แสดงให้เห็นถึงตัวอักษรลักษณะแบบมอญโบราณ เป็นหลักฐานที่พิสูจน์ความเชื่อที่ว่าผู้สร้างเจดีย์ในสมัยโบราณคือชาวมอญ<ref name=uog/>
== ประวัติ ==
 
=== สงครามโลกครั้งที่ 2 ===
หลังการประชุมและหารือผู้นำทางศาสนา 15 คน จึงมีมติให้เปิดผอบต่อหน้าทุกคนในคณะกรรมการ การเปิดผอบมีการระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง เมื่อผอบหินถูกเปิดพบว่าภายในมีผอบสีทองซ้อนอีกชั้นหนึ่ง เป็นผอบลักษณะคล้ายกับผอบหินภายนอก เป็นทรงสถูปลักษณะคล้ายเจดีย์ ฝีมือปราณีต แสดงให้เห็นถึงความเลื่อมใสในศาสนา โคลนบางส่วนได้ซึมมาด้านข้างและฐานชั้นนี้ เมื่อล้างและร่อนด้วยตะแกรงจึงพบหินมีค่า ทอง และอัญมณีรอบฐานชั้นนี้ ผอบชั้นที่สองถูกเปิดภายในพบสถูปทองคำบริสุทธิ์ขนาดเล็กตั้งอยู่บนถาดเงิน และข้างสถูปทองคำมีรูปหินแกะสลักสูง 4½ นิ้ว เป็นฝีมือโบราณขั้นสูง<ref name=uog/>
=== การบูรณะ ===
 
เมื่อสถูปทองถูกเปิดออกก็พบกระบอกทองคำขนาดเล็ก ยาว 3/4 นิ้ว (19 มม.) มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5/12 นิ้ว (11 มม.) ภายในกระบอกพบพระธาตุขนาดเล็กสององค์ ขนาดเล็กเท่าเมล็ดมัสตาร์ด และสิ่งที่เชื่อว่าเป็นพระเกศาของพระพุทธเจ้า เป็นเส้นพระเกศาม้วนเป็นวงกลมและยึดติดเล็กน้อยกับยางรักที่ซึ่งเห็นเป็นจุดทองฉาบปิดไว้<ref name=uog/>
 
== โครงสร้าง ==
เจดีย์ใหม่มีการออกแบบให้มีลักษณะตามเดิมและสูง 131 ฟุต 8 นิ้ว (40.13 เมตร) บนฐาน 96 ฟุต (29 ม.) x 96 ฟุต (29 ม.) แหล่งท่องเที่ยวหลักคือภายในของเจดีย์ซึ่งกลวง ทางเดินมีลักษณะเหมือนเขาวงกต พนังบุด้วยทองคำมีกระจกกั้น ภายในแสดงโบราณวัตถุและสิ่งประดิษฐ์โบราณจำนวนมากที่เคยฝังไว้ภายในเจดีย์ก่อนหน้านี้<ref name=mti/>
 
== คลังภาพ ==
เส้น 47 ⟶ 56:
ไฟล์:Image of Mindfulness and Wisdom (8392104320).jpg|พระพุทธรูปบริเวณเจดีย์
ไฟล์:Botataung Stupa 0308.jpg|พระพุทธรูปภายในอาคาร
ไฟล์:2016 Rangun, Pagoda Botahtaung (04).jpg|ทางเข้าอาคารประดิษฐานพระสารีริกธาตุภายในเจดีย์
ไฟล์:Guilded Corridor (27629705157).jpg|บริเวณภายในอาคารเจดีย์
ไฟล์:Botataung Pagoda (10424732815).jpg|พระสารีริกธาตุในตู้กระจก
ไฟล์:Bo Bo Gyi, Botahtaung Pagoda, Yangon.jpg|[[นะ (วิญญาณ)|นะ]] โบโบจี หรือ คนไทยคุ้นเคยในชื่อ เทพทันใจ เป็นผู้พิทักษ์เจดีย์ตามความเชื่อของชาวพม่า
เส้น 61 ⟶ 70:
 
{{เรียงลำดับ|บ}}
[[หมวดหมู่:เขตย่างกุ้ง]]
[[หมวดหมู่:เจดีย์ในประเทศพม่า]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในประเทศพม่า]]
[[หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศพม่า]]