ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7815888 สร้างโดย 27.55.81.56 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
สลายการชุมนุม ที่4แยกราชประสงค์
{{วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2553}}
[[ไฟล์:UDD Protester 140310.jpg|thumb|200px|กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม]]
บรรทัด 6:
'''การชุมนุมของ[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] พ.ศ. 2553''' เริ่มตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2553 มีเป้าหมายเรียกร้องให้[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] [[นายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรี]] ประกาศ[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร|ยุบสภา]] และจัด[[การเลือกตั้ง]]ใหม่ ต่อมา รัฐบาลใช้มาตรการทางทหารเข้ากดดันกลุ่มผู้ชุมนุม จนทำให้มีผู้เสียชีวิต 91 ศพ<ref name="deaths2">{{cite news|title=Protesters Return to Bangkok Streets|url=https://www.nytimes.com/2010/09/20/world/asia/20thai.html|publisher=The New York Times|accessdate=7 Oct 2010|coauthors=Thomas Fuller and Seth Mydans|location=Bangkok|date=19 Sep 2010}}</ref> และมีผู้บาดเจ็บมากกว่า 2,100 คน<ref name="deaths">{{cite news|title=Death toll rises as anti-government protests escalate in Thailand|url=http://www.timesonline.co.uk/tol/news/world/asia/article7126802.ece|publisher=Times Newspapers Ltd|accessdate=14 May 2010|coauthors=Joanna Sugden and Sian Powell}}</ref> จากนั้น อภิสิทธิ์ประกาศแผนปรองดอง ซึ่งผู้ชุมนุมมีข้อเรียกร้องเพิ่มเติม การชุมนุมจึงดำเนินต่อไป และอภิสิทธิ์ก็ประกาศยกเลิกวันเลือกตั้งใหม่ตามแผนปรองดอง ก่อนจะใช้กำลังทหารเข้า[[การสลายการชุมนุมบริเวณแยกราชประสงค์ พฤษภาคม พ.ศ. 2553|สลายการชุมนุม]]ที่[[แยกราชประสงค์]] เมื่อกลางเดือนพฤษภาคม จนกระทั่ง แกนนำ นปช. ประกาศยุติการชุมนุมในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
 
การชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เริ่มต้นขึ้นในช่วงปี [[พ.ศ. 2552]] เนื่องจากผู้ชุมนุมมีข้อสงสัยว่า[[กองทัพไทย]]อยู่เบื้องหลังการยุบ[[พรรคพลังประชาชน]] พร้อมทั้งจัดตั้งรัฐบาลผสม ที่นำโดย[[พรรคประชาธิปัตย์]]<ref name="cuase">The Telegraph, [http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/thailand/3831672/Thai-army-to-help-voters-love-the-government.html Thai army to 'help voters love' the government], 18 December 2008</ref> ในปีต่อมา นปช. ประกาศจะเริ่มการชุมนุมเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2553 อภิสิทธิ์จึงเพิ่มมาตรการรักษาความมั่นคงอย่างมาก รวมทั้งเข้มงวดกับ[[การตรวจพิจารณาในประเทศไทย|การตรวจพิจารณาสื่อมวลชนและอินเทอร์เน็ต]] ตลอดจนสั่งปิดสถานีโทรทัศน์ และสถานีวิทยุที่ดำเนินงานโดยกลุ่มผู้ชุมนุม อย่างไรก็ตาม มาตรการดังกล่าวไม่สามารถยับยั้งกลุ่มผู้ชุมนุมมิให้เดินทางเข้ามายังกรุงเทพมหานครได้
การชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เริ่มต้นขึ้นในช่วงปี [[พ.ศ. งเดียว วันที่ 22 เมษายน เหตุปาระเบิดมือทำให้มีผู้เสียชีวิต 1 คน และได้รับบาดเจ็บอีก 86 คน กลุ่มคนเสื้อแดงบางส่วนบุกเข้าไปในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เพื่อหาตัวผู้ลงมือ แต่หาไม่พบ ผู้เชี่ยวชาญด้าน[[นิติวิทยาศาสตร์]] [[พรทิพย์ โรจนสุนันท์]] ในภายหลังชี้ว่าโรงพยาบาลอาจเป็นแหล่งของผู้ลงมือ >
 
ผู้ชุมนุมส่วนมากเดินทางมาจากต่างจังหวัด แต่ก็มีชาวกรุงเทพมหานครส่วนหนึ่งเข้าร่วมการชุมนุมเช่นกัน<ref>{{cite news |url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/8681833.stm|title=Deadly clashes as police besiege Bangkok protesters|publisher=BBC News|date=14 May 2010|accessdate=16 May 2010 }}</ref> การชุมนุมเมื่อวันที่ 14 มีนาคม สื่อต่างประเทศรายงานว่าเป็นการชุมนุมครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย<ref>IPS, [http://ipsnews.net/news.asp?idnews=50656 In Convoys of Red, Rural Masses Stage Historic Protest], 14 March 2010</ref> โดยในช่วงแรก การชุมนุมเกิดขึ้นที่[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]]บน[[ถนนราชดำเนิน]]และเป็นไปโดยสงบ กลุ่มผู้ชุมนุมใช้มาตรการต่าง ๆ เช่น การเดินขบวนรอบกรุงเทพมหานคร การรวบรวมเลือดไปเทที่หน้าประตูทำเนียบรัฐบาล หน้าที่ทำการพรรคประชาธิปัตย์ และหน้าบ้านพักอภิสิทธิ์เพื่อกดดันรัฐบาล จากนั้นมีการเจรจาระหว่างรัฐบาลกับผู้ชุมนุมสองครั้ง ได้ข้อสรุปว่าจะมีการยุบสภา แต่ไม่สามารถสรุปวันเวลาได้ โดยทั้งก่อนและระหว่างการชุมนุม มีการยิงลูกระเบิดชนิดเอ็ม-79 หลายสิบครั้ง แต่ก็ไม่สามารถหาตัวผู้กระทำมาลงโทษได้แม้แต่คนเดียว<ref>PRD, [http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255305050055 DSI: Origin of Silom grenade attacks yet to be concluded : National News Bureau of Thailand], 5 May 2010</ref>อย่างไรก็ตามกรมสอบสวนคดีพิเศษแถลงจับผู้ต้องสงสัย 3 ราย<ref>http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1272878979</ref>
ความตึงเครียดเพิ่มมากขึ้นเมื่อเข้าสู่เดือนเมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมปิดการจราจรที่[[แยกราชประสงค์]] รวมทั้งสร้างแนวป้องกันในบริเวณโดยรอบ วันที่ 8 เมษายน อภิสิทธิ์ประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ที่มีความร้ายแรง โดยห้ามการชุมนุมทางการเมืองเกินกว่าห้าคนขึ้นไป และในวันที่ 10 เมษายน กำลังทหารเข้าสลายการชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ ทำให้มีผู้เสียชีวิต 24 ศพ มีช่างภาพชาวญี่ปุ่นเสียชีวิตรวมอยู่ด้วย 1 คน และทหารเสียชีวิต 5 นาย ตลอดจนมีผู้ได้รับบาดเจ็บอีกมากกว่า 800 คน สื่อไทยเรียกการสลายการชุมนุมดังกล่าวว่า "'''เมษาโหด'''"<ref>บ้านเมือง, [http://www.ryt9.com/s/bmnd/886959 สะเก็ดการเมือง: หมอพรทิพย์ ลุยสอบเมษาโหด], 23 เมษายน 2553</ref> วันที่ 14 เมษายน แกนนำประกาศรวมที่ชุมนุมไปยังแยกราชประสงค์เพียงแห่งเดียว วันที่ 22 เมษายน เหตุปาระเบิดมือทำให้มีผู้เสียชีวิต 1 คน และได้รับบาดเจ็บอีก 86 คน กลุ่มคนเสื้อแดงบางส่วนบุกเข้าไปในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เพื่อหาตัวผู้ลงมือ แต่หาไม่พบ ผู้เชี่ยวชาญด้าน[[นิติวิทยาศาสตร์]] [[พรทิพย์ โรจนสุนันท์]] ในภายหลังชี้ว่าโรงพยาบาลอาจเป็นแหล่งของผู้ลงมือ แต่ไม่มีการจับกุมผู้กระทำแต่อย่างใด<ref>PRD, [http://thainews.prd.go.th/en/news.php?id=255305050055 DSI: Origin of Silom grenade attacks yet to be concluded : National News Bureau of Thailand], 5 May 2010</ref> เมื่อวันที่ 28 เมษายน ระหว่างที่ผู้ชุมนุมจากแยกราชประสงค์ กำลังเดินทางไปให้กำลังใจกลุ่มผู้ชุมนุมที่[[ตลาดไท]] ย่านรังสิต ชานกรุงเทพมหานคร แต่ถูกเจ้าหน้าที่ทหารตั้งแนวขวางกั้น กลาง[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] จนเกิดการปะทะกัน โดยมีทหารเสียชีวิต 1 นาย ในเหตุการณ์นี้
 
อภิสิทธิ์เสนอแนวทางปรองดอง เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ซึ่งเสนอให้จัดการเลือกตั้งใหม่ แต่อภิสิทธิ์ก็ยกเลิกข้อเสนอดังกล่าวไปเอง<ref>[http://www.dailyworldtoday.com/newsblank.php?news_id=6661 คำต่อคำ“อภิสิทธิ์”], โลกวันนี้รายวัน, 14 พฤษภาคม 2553</ref> หลังจากที่แกนนำ นปช. ยื่นข้อเรียกร้องให้รองนายกรัฐมนตรี [[สุเทพ เทือกสุบรรณ]] เข้ามอบตัวกับตำรวจ แม้จะมีท่าทียอมรับในระยะแรกก็ตาม ต่อมา รัฐบาลสั่งการให้กำลังทหารเข้าล้อมพื้นที่แยกราชประสงค์ ด้วยกำลังรถหุ้มเกราะและพลซุ่มยิง<ref>CSM, [http://www.csmonitor.com/World/terrorism-security/2010/0513/Thai-PM-preps-snipers-police-to-seal-off-Red-Shirt-protest-site Thai PM preps snipers, police to seal off Red-Shirt protest site], 13 May 2010</ref> ในระหว่างวันที่ 14-18 พฤษภาคม ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 41 ศพ และบาดเจ็บกว่า 250 คน ซึ่งกองทัพอ้างว่า พลเรือนถูกยิงโดยกลุ่มผู้ก่อการร้ายหรือไม่ก็ถูกยิงเพราะติดอาวุธ หรือถูกผู้ก่อการร้ายยิง และชี้ว่าผู้ก่อการร้ายบางคนแต่งกายในชุดทหาร<ref>[http://www.bangkokpost.com/breakingnews/178232/armed-men-target-innocent-people-cres Bangkok Post]</ref> ทหารเสียชีวิตนายหนึ่งเพราะถูกพวกเดียวกันยิง<ref>TNN, [http://www.atnnonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=14118:11&catid=40:top-stories&Itemid=68 ยิงอากาศโยธินควบวีโก้เข้าสีลมโดนสอยดับ1เจ็บ1], 17 May 2010</ref> สื่อไทยเรียกการสลายการชุมนุมดังกล่าวว่า "'''พฤษภาอำมหิต'''"<ref>กรุงเทพธุรกิจออนไลน์, [http://thaiaudio.wordpress.com/2010/06/02/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%8C-%E0%B8%9E%E0%B8%A4/ พฤษภาอำมหิตกับองค์การนิรโทษกรรมสากล], 2 มิถุนายน 2010</ref> กองทัพได้ประกาศ "เขตใช้กระสุนจริง" โดยทุกคนที่พบเห็นในเขตดังกล่าวจะถูกยิง และเจ้าหน้าที่แพทย์ถูกห้ามไม่ให้เข้าไปในพื้นที่<ref>{{cite news | url = http://www.theage.com.au/world/army-declares-shoot-to-kill-20100515-v5ia.html | location=Melbourne | work=The Age | first1=Ben | last1=Doherty | title=Army declares 'shoot to kill' | date=16 May 2010}}</ref><ref>The Nation, [http://www.nationmultimedia.com/home/2010/05/16/national/Medics-banned-from-entering-red-zones-30129456.html Medics banned from entering 'red zones'], 16 May 2010</ref><ref>''Brisbane Times'', [http://www.brisbanetimes.com.au/world/16-dead-more-likely-as-thai-authorities-ramp-up-protest-crack-down-20100515-v4ta.html 16 dead, more likely as Thai authorities ramp up protest crack down], 15 May 2010</ref><ref>{{cite news | url = http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/8684164.stm | work=BBC News | title=Thai violence claims more lives | date=15 May 2010}}</ref> จนวันที่ 19 พฤษภาคม กำลังทหารเข้ายึดพื้นที่เป็นครั้งสุดท้าย จนถึงแยกราชประสงค์ จนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเพิ่มขึ้นอีก แกนนำ นปช. ประกาศยุติการชุมนุม และยอมมอบตัวกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ เป็นผลให้ผู้ชุมนุมส่วนหนึ่งเกิดความไม่พอใจ จากนั้น เกิดการก่อจลาจลและวางเพลิงสถานที่หลายแห่งทั่วประเทศ<ref name="Red-Shirts on rampage in Bangkok"/> ในช่วงค่ำ รัฐบาลประกาศ[[การห้ามออกจากเคหสถาน|ห้ามออกจากเคหสถาน]]ในหลายจังหวัด และให้สถานีโทรทัศน์ทุกช่องนำเสนอรายการของรัฐบาลเท่านั้น โดยทหารได้รับคำสั่งให้ใช้อาวุธปืนยิง ผู้ที่ทำการปล้นสะดม วางเพลิง หรือก่อความไม่สงบได้ทันที<ref name="Red-Shirts on rampage in Bangkok">SMH, [http://www.smh.com.au/world/Red-Shirts-on-rampage-in-bangkok-20100519-vd1s.html?autostart=1 Red-Shirts on rampage in Bangkok], 19 May 2010</ref> ผู้ชุมนุมจำนวน 51 คนยังคงหายสาบสูญจนถึงวันที่ 8 มิถุนายน<ref>MThai, [http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/life/20100608/119852/%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B8%88%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A274%E0%B8%9E%E0%B8%9A23.html มูลนิธิกระจกเงาเผยจลาจลคนหาย 74 พบ 23], 30 {{ลิงก์เสีย}}</ref> รัฐบาลอ้างว่าการประท้วงดังกล่าวจะต้องใช้เงินทุนถึง 150,000 ล้านบาท<ref>Bangkok Post, [http://www.bangkokpost.com/news/politics/181227/dsi-to-deliberate-on-153-udd-cases DSI to deliberate 153 UDD cases], 14 June 2010</ref>ต่อมาวันที่ 31 มกราคม 2560 ศาลชั้นต้นสั่งจำคุก บุคคลสองราย เป็นเวลา 10ปี<ref>http://www.bbc.com/thai/thailand-38806078?ocid=socialflow_facebook</ref>
 
== เบื้องหลัง ==