ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชาศัพท์ (ภาษาไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
'''คำสุภาพ''' คือคำราชาศัพท์สำหรับชั้นสุภาพชน เป็นการเปลี่ยนถ้อยคำต่างๆ ให้เหมาะสมสำหรับสื่อสารกับผู้ที่อาวุโสกว่า คำสุภาพมีลักษณะทั่วไปดังนี้
# ไม่เป็น[[คำอุทาน]]ที่ไม่สุภาพ เช่น ''โว้ย เว้ย'' หรือ[[คำสบถ]] เช่น ''ให้ตายห่า ให้ฉิบหายวายวอด'' หรือการพูดกระชากเสียง เช่น ''เปล่า ไม่ใช่'' เป็นต้น
# ไม่เป็น[[คำผวน]แล้วไม่สุภาพทันที เช่น ''ผักบุ้ง'' ผวนเป็น ''พุ่งบัก'' เป็นต้นไม่มีการใช้คำที่ถือว่าไม่สุภาพ เช่น ''ไอ้, อี, ขี้'' ฯลฯ โดยจะเปลี่ยนคำศัพท์ไปเป็นคำอื่น เป็น ''สิ่ง, นาง, อุจจาระ'' ฯลฯ หรือไม่ก็ตัดออกไปเลย เช่น ''อีเลิ้ง'' เป็น ''นางเลิ้ง'' ''ดอกขี้เหล็ก'' เป็น ''ดอกเหล็ก'' เป็นต้น
# ไม่มีการใช้คำที่ถือว่าไม่สุภาพ เช่น ''ไอ้, อี, ขี้'' ฯลฯ โดยจะเปลี่ยนคำศัพท์ไปเป็นคำอื่น เป็น ''สิ่ง, นาง, อุจจาระ'' ฯลฯ หรือไม่ก็ตัดออกไปเลย เช่น ''อีเลิ้ง'' เป็น ''นางเลิ้ง'' ''ดอกขี้เหล็ก'' เป็น ''ดอกเหล็ก'' เป็นต้น
 
ความหมายที่แท้จริงของ "คำหยาบ" หาใช่หมายถึงเฉพาะคำโลนหรือคำที่ใช้ในการกล่าวผรุสวาจาเท่านั้นไม่ ที่ถูกแล้วน่าจะเรียกว่า "คำสามัญ" มากกว่า เช่น คำว่า ตีน, กิน, เดิน, นอน ก็ไม่น่าจะเป็นคำหยาบอะไร แต่การนำคำเหล่านี้ไปใช้พูดกับผู้คนที่อาวุโสกว่า คำเหล่านั้นจะถือเป็น "คำหยาบ" ต้องเปลี่ยนใช้คำอื่น เช่น จะพูดว่า "ตีน" ก็ต้องเปลี่ยนเป็นคำว่า "เท้า" เป็นต้น <ref>[[ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา]]. '''การใช้ถ้อยคำและราชาศัพท์'''</ref>{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}