ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันตรกิริยาอย่างอ่อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7811929 สร้างโดย 223.24.185.38 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 7:
ในช่วงยุคของควาร์ก แรงไฟฟ้าอ่อน ({{lang-en|electroweak force}}) แยกออกเป็นแรงแม่เหล็กไฟฟ้​​าและแรงอ่อน ตัวอย่างที่สำคัญของอันตรกิริยาอย่างอ่อนได้แก่การสลายให้อนุภาคบีตา และการผลิตดิวเทอเรียมจากไฮโดรเจนที่จำเป็นเพื่อให้พลังงานในกระบวนการเทอร์โมนิวเคลียร์ของดวงอาทิตย์ เฟอร์มิออนส่วนใหญ่จะสลายตัวโดยอันตรกิริยาอย่างอ่อนไปตามเวลา การสลายตัวดังกล่าวยังทำให้การหาอายุด้วยวืธีเรดิโอคาร์บอน ({{lang-en|radiocabon dating}}) มีความเป็นไปได้เมื่อ[[คาร์บอน-14]] สูญสลายผ่านอันตรกิริยาอย่างอ่อนกลายเป็น[[ไนโตรเจน-14]] นอกจากนี้มันยังสามารถสร้างสารเรืองแสงรังสี ({{lang-en|radioluminescence}}) ที่ใช้กันทั่วไปในการส่องสว่างทริเทียม ({{lang-en|tritium illumination}}) และในสาขาที่เกี่ยวข้องกับ [[betavoltaics]]<ref>"The Nobel Prize in Physics 1979: Press Release". NobelPrize.org. Nobel Media. Retrieved 22 March 2011.</ref>
 
ควาร์กเป็นผู้สร้างอนุภาคผสมเช่นนิวตรอนและโปรตอน ควาร์กมีหกชนิดที่เรียกว่า "ฟเลเวอร์" ({{lang-en|flavour}}) ได้แก่ อัพ, ดาวน์, สเตรนจ์, แหม่มชาร์ม, ทอปและบอตทอม - ซึ่งเป็นคุณสมบัติของอนุภาคผสมเหล่านั้น อันตรกิริยาอย่างอ่อนเป็นหนึ่งเดียวในแง่ที่ว่ามันจะยอมให้ควาร์กสามารถที่จะสลับฟเลเวอร์ของพวกมันไปเป็นอย่างอื่นได้ ตัวอย่างเช่นในระหว่างการสลายตัวในอนุภาคบีตาลบ ดาวน์ควาร์กตัวหนึ่งสลายตัวกลายเป็นอัพควาร์ก เป็นการแปลงนิวตรอนให้เป็นโปรตอน นอกจากนี้อันตรกิริยาอย่างอ่อนยังเป็นปฏิสัมพันธ์พื้นฐานอย่างเดียวเท่านั้นที่ทำลายการสมมาตรแบบเท่าเทียมกัน และในทำนองเดียวกัน มันเป็นอย่างเดียวเท่านั้นที่ทำลาย CP-สมมาตร
 
== อ้างอิง ==