ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้านายฝ่ายเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 93:
 
==== การพระราชทานนามสกุล ====
เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้มีการตราบัญญัติใช้นามสกุลขึ้น แล้วได้ทรงพระราชทานนามสกุลให้ผู้สืบเชื้อสายกับเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้าผู้ครองนครลำพูน เจ้าผู้ครองนครลำปาง และเจ้าผู้ครองนครน่าน ให้ทายาทในเจ้าผู้ครองนครใช้นามสกุล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน ตามลำดับ ส่วนการใช้นามสกุลในพระญาติวงศ์ให้เป็นไปตามดุลยพินิจของเจ้าผู้ครองนครเอง ต่อมาเจ้าผู้ครองนครได้อนุญาตให้ผู้มีเชื้อสายเจ้าในขณะนั้นเกือบทั้งหมดได้ใช้นามสกุลพระราชทานร่วมกัน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการตราบัญญัติให้ใช้นามสกุลมีขึ้นภายหลัง 180 ปี จึงทำให้ปรากฏเชื้อสายเจ้านายฝ่ายเหนือโดยเฉพาะเชื้อสายเจ้านายที่ไปปกครองเมืองบริวารใช้นามสกุลนอกเหนือจากพระราชทานอีกหลายนามสกุล<ref>ราชวงศ์ทิพจักรและราชวงศ์ติ๋นมหาวงษ์ มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ทำให้มีการกระจัดกระจายเชื้อสาย โดยเฉพาะราชวงศ์ทิพจักรนั้น ได้สถาปนาขึ้นในปี 2275 แต่การตราพระราชบัญญัตินามสกุลมีขึ้นในปี 2455 จากการศึกษาค้นคว้าจึงพบว่ามีเชื้อสายหลายท่านขอพระราชทานในคราเดียวกัน และหลายท่านมีความสับสนในการเลือกใช้นามสกุลอยู่บ้าง เพราะ (1) เจ้าหลวงบางพระองค์ขึ้นครองสองนคร (เช่น เจ้าหลวงเศรษฐีคำฝั้น ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน ก่อนขึ้นครองนครเชียงใหม่) (2) มีการสมรสในหมู่เจ้านายพระประยูรญาติข้ามนครทั้งสามมาอย่างยาวนาน (3) เจ้านายบุตรหลานได้ถูกส่งไปเป็นเจ้าขันห้าใบตามนครอื่น และเป็นเจ้าหลวงปกครองเมืองบริวารต่างๆ เชื้อสายเจ้านายในเมืองบริวารจึงปรากฏใช้นามสกุลต่างออกไปอีกหลายนามสกุล.-(น.อ.คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์)</ref>
 
=== บทบาทหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ===