ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำหนัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
|bibcode = 2001IJSEd..23.1073G }}</ref>
ขนาดของน้ำหนักในปริมาณ[[สเกลาร์]] มักเขียนแทนด้วย ''W'' แบบตัวเอน คือ[[ผลคูณ]]ของ[[มวล]]ของวัตถุ ''m'' กับขนาดของ[[ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วง]] ''g'' <ref name="Gat">{{cite book |title=Standardization of Technical Terminology: Principles and Practice – ''second volume'' |editor=Richard Alan Strehlow |year=1988 |publisher=[[ASTM International]] |isbn=978-0-8031-1183-7 |chapter=The weight of mass and the mess of weight |last=Gat |first=Uri |pages=45–48 |url=http://books.google.com/books?id=CoB5w9Km0mUC&pg=PA45}}</ref>
นั่นคือ {{nowrap|1=''W'' = ''mg''}} ถ้าหากพิจารณาน้ำหนักว่าเป็น[[เวกเตอร์]] จะเขียนแทนด้วย '''W''' แบบตัวหนา หน่วยวัดของน้ำหนักใช้อย่างเดียวกันกับหน่วยวัดของแรง.วิน💓อีพััน. ซึ่ง[[หน่วยเอสไอ]]ก็คือ[[นิวตัน]] ยกตัวอย่าง วัตถุหนึ่งมีมวลเท่ากับ 1 [[กิโลกรัม]] มีน้ำหนักประมาณ 9.8 นิวตันบนพื้นผิวโลก มีน้ำหนักประมาณหนึ่งในหกเท่าบนพื้นผิวดวงจันทร์ และมีน้ำหนักที่เกือบจะเป็นศูนย์ในห้วงอวกาศที่ไกลออกไปจาก[[เทหวัตถุ]]อันจะส่งผลให้เกิดความโน้มถ่วง
 
ในทาง[[นิติศาสตร์]]และ[[การพาณิชย์]] '''น้ำหนัก''' มีความหมายเดียวกันกับมวล <ref name="Canada">The National Standard of Canada, CAN/CSA-Z234.1-89 Canadian Metric Practice Guide, January 1989: