ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความหลากหลายทางชีวภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
Add code
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์เฉพาะคำหรือวลีข้างหน้าก็พอ
บรรทัด 1:
'''ความหลากหลายทางชีวภาพ''' ({{lang-en|[[Biodiversity]]biodiversity}}) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตน้อยนิด พันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือง่ายๆง่าย ๆ คือ การที่มี[[ชนิดพันธุ์]] ({{lang-en|[[Species]]}}species) [[สายพันธุ์]] ({{lang-en|[[Genetics]]}}genetics) และ[[ระบบนิเวศ]] ({{lang-en| [[Ecosystem]]}}ecosystem) ที่แตกต่างหลากหลายบนจักรวาล
 
ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่าง[[สายพันธุ์]] ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆต่าง ๆ ที่ใช้ใน[[การเกษตร]] ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภค[[ข้าวเจ้า]] หรือ[[ข้าวเหนียว]] ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุ์ต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยู่ในสายพันธุ์ต่างๆต่าง ๆ ยังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์[[ปศุสัตว์]] เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น [[ไก่พันธุ์เนื้อ]] [[ไก่พันธุ์ไข่]]ดก [[วัวพันธุ์นม]] และ[[วัวพันธุ์เนื้อ]] เป็นต้น
 
ความหลากหลายระหว่าง[[ชนิดพันธุ์]] สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกต่างระหว่าง[[พืช]]และ[[กับสัตว์]]แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น [[สุนัข]] [[แมว]] [[จิ้งจก]] [[ตุ๊กแก]] [[กา]] [[นกพิราบ]] และ[[นกกระจอก]] เป็นต้น หรือสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น [[เสือ]] [[ช้าง]] [[กวาง]] [[กระจง]] [[เก้ง]] [[ลิง]] [[ชะนี]] [[หมี]] และ[[วัวแดง]] เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยชน์ทาง[[การเกษตร]] และ[[อุตสาหกรรม]] น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป็นจริงพบว่า[[มนุษย์]]ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จาก[[พืชมีท่อลำเลียง]] ({{lang-en|vascular plant}}) ที่มีอยู่ทั้งหมดใน[[โลก]]ถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงนี้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี้ยงมาเพื่อใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จาก[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]ทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด ([[UNEPโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ]] [[ค.ศ. 1995]])
 
ความหลากหลายระหว่าง[[ระบบนิเวศ]]เป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น [[ป่าดงดิบ]] [[ทุ่งหญ้า]] [[ป่าชายเลน]] [[ทะเลสาบ]] [[บึง]] [[หนอง]] [[ชายหาด]] [[แนวปะการัง]] ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น [[ทุ่งนา]] [[อ่างเก็บน้ำ]] หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ใน[[ระบบนิเวศ]]เหล่านี้ [[สิ่งมีชีวิต]]ก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาศัยแตกต่างกัน
 
ความแตกต่างหลากหลายระหว่าง[[ระบบนิเวศ]] ทำให้[[โลก]]มีถิ่นที่อยู่อาศัยเหมาะสมสำหรับ[[สิ่งมีชีวิต]]ชนิดต่างๆต่าง ๆ [[ระบบนิเวศ]]แต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของ[[มนุษย์]]แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้ '"บริการทาง[[สิ่งแวดล้อม]]'" ({{lang-en|[[environmental service]]}}) ต่างกันด้วย อาทิเช่น [[ป่าไม้]]ทำหน้าที่ดูดซับ[[น้ำ]] ไม่ให้เกิด[[น้ำท่วม]]และการพังทลายของ[[ดิน]] ส่วน[[ป่าชายเลน]]ทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณ[[ชายฝั่ง]]จากกระแส[[ลม]]และ[[คลื่น]]ด้วย เป็นต้น
 
== อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ==
จาก[[การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา]] ([[United Nations Conference on Environment and Development]]) หรือ[[การประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม]] ([[Earth Summit]]) ณ กรุงริโอนครรีโอเดจาเนโร เดอ เจเนโร ประเทศ[[ประเทศบราซิล]] เมื่อวันที่ 5 - 5–14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรอง[[อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ]] โดยมีทั้งสิ้น 157 ประเทศร่วมลงนาม
 
จาก[[การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา]] ([[United Nations Conference on Environment and Development]]) หรือ[[การประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม]] ([[Earth Summit]]) ณ กรุงริโอ เดอ เจเนโร ประเทศ[[บราซิล]] เมื่อวันที่ 5 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรอง[[อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ]] โดยมีทั้งสิ้น 157 ประเทศร่วมลงนาม
อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ปัจจุบันมีภาคี 191 ประเทศ ในส่วนของประเทศไทย ได้ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 และให้[[สัตยาบัน]]เข้าเป็นภาคีเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2547