ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มนุษย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 52:
 
==== การปรับตัวทางกายวิภาคศาสตร์ ====
วิวัฒนาการของมนุษย์มีคุณลักษณะพิเศษโดยการเปลี่ยนแปลงทาง[[กายสัณฐานวิทยา]] พัฒนาการ สรีรวิทยาและพฤติกรรมจำนวนหนึ่ง ซึ่งได้เกิดขึ้นนับแต่การแยกออกระหว่างบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายของมนุษย์กับชิมแปนซี การปรับตัวทางกายวิภาคศาสตร์ที่สำคัญที่สุด ได้แก่ 1. ทวิบทหรือการเดินสองเท้า 2. ขนาดสมองที่ใหญ่ขึ้น 3. การพัฒนาเจริญเติบโตที่นานขึ้น (การตั้งครรภ์และวัย[[ทารก]]) 4. ภาวะทวิสัณฐานทางเพศที่ลดลง ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดเหล่านี้ยังเป็นหัวข้อถกเถียงกันอยู่<ref name=Boyd2003>{{cite book |author=Boyd, Robert; Silk, Joan B. |year=2003 |title=How Humans Evolved |location=New York, New York |publisher=Norton |isbn=0-393-97854-0}}</ref> การเปลี่ยนแปลงทางการสัณฐานวิทยาที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ได้แก่ วิวัฒนาการของการหยิบจับที่มีพลังและแม่นยำด้วยนิ้วหัวแม่มือ ซึ่งเกิดขึ้นครั้งแรกใน ''H. erectus''<ref name=Brues1965>{{cite journal |author=Brues, Alice M.; Snow, Clyde C. |title=Physical Anthropology |journal=Biennial Review of Anthropology |year=1965 |volume=4 |pages=1–39 |url=http://books.google.com/books?id=9WemAAAAIAAJ&pg=PA1}}</ref>
 
ทวิบท (Bipedalism) เป็นการปรับตัวพื้นฐานของสายโฮมินิน และถูกมองว่าเป็นสาเหตุหลักเบื้องหลังชุดการเปลี่ยนแปลงของโครงกระดูกที่เกิดในโฮมินินทวิบทร่วมกัน โฮมินินทวิบทที่เก่าแก่ที่สุดถูกมองว่า อาจเป็น ''Sahelanthropus''<ref name=Brunet2002>{{cite journal |author=Brunet, M.; Guy, F.; Pilbeam, D.; Mackaye, H.; Likius, A.; Ahounta, D.; Beauvilain, A.; Blondel, C.; Bocherens, H.; Boisserie, J.; De Bonis, L.; Coppens, Y.; Dejax, J.; Denys, C.; Duringer, P.; Eisenmann, V.; Fanone, G.; Fronty, P.; Geraads, D.; Lehmann, T.; Lihoreau, F.; Louchart, A.; Mahamat, A.; Merceron, G.; Mouchelin, G.; Otero, O.; Pelaez Campomanes, P.; Ponce De Leon, M.; Rage, J.; Sapanet, M.; Schuster, M.; Sudre, J.; Tassy, P.; Valentin, X.; Vignaud, P.; Viriot, L.; Zazzo, A.; Zollikofer, C. |title=A new hominid from the Upper Miocene of Chad, Central Africa |url=http://www.nature.com/nature/journal/v418/n6894/full/nature00879.html |journal=Nature |volume=418 |issue=6894 |pages=145–151 |year=2002 |pmid=12110880 |doi=10.1038/nature00879}}</ref> หรือ ''Orrorin'' โดย Ardipithecus ซึ่งเป็นทวิบทอย่างเต็มตัว มาทีหลัง พวกที่เดินด้วยข้อนิ้วมือ อย่างกอริลลาและชิมแปนซี เบนออกในเวลาใกล้เคียงกัน และ ''Sahelanthropus'' หรือ ''Orrorin'' สปีชีส์ใดสปีชีส์หนึ่งอาจเป็นบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายรหว่างมนุษย์กับลิงทั้งสอง สัตว์สองเท้าช่วงต้น ๆ สุดท้ายวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน และสกุล ''Homo'' ต่อมา มีหลายทฤษฎีที่อธิบายคุณค่าของการปรับตัวเป็นทวิบท เป็นไปได้ว่าเหตุที่ทวิบทได้รับการสนับสนุนเพราะทำให้สัตว์มีมือว่างที่จะเอื้อมถึงและถืออาหาร เพราะมันช่วยรักษาพลังงานระหว่างการเคลื่อนไหว เพราะทำให้สามารถวิ่งและล่าระยะไกลได้ หรือเป็นยุทธศาสตร์หลีกเลี่ยง[[ภาวะไข้สูง]]โดยลดพื้นผิวที่จะสัมผัสกับแสงอาทิตย์โดยตรง
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มนุษย์"