ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมแทบอลิซึม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มนิยามให้เหมาะสม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎กรดอะมิโนและโปรตีน: แก้ไขคำพันธะเพปไธด์
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 39:
 
=== กรดอะมิโนและโปรตีน ===
โปรตีนประกอบขึ้นจากกรดอะมิโนเรียงตัวกันเป็นโซ่เส้นตรงเชื่อมด้วย[[พันธะเพพไทด์ปไทด์]]<ref>https://th.m.wikipedia.org/wiki/พันธะเพปไทด์</ref> โปรตีนหลายตัวเป็น[[เอ็นไซม์]]ซึ่งเร่งปฏิกิริยาเคมีในเมแทบอลิซึม โปรตีนตัวอื่นมีหน้าที่เชิงโครงสร้างหรือกลไก เช่น โปรตีนที่ประกอบขึ้นเป็นไซโทสเกลิทัน ระบบโครงค้ำจุนรูปทรงของเซลล์<ref>{{cite journal |vauthors=Michie K, Löwe J |title=Dynamic filaments of the bacterial cytoskeleton |journal=Annu Rev Biochem |volume=75 |issue= |pages=467–92 |year=2006 |pmid=16756499 |doi=10.1146/annurev.biochem.75.103004.142452}}</ref> โปรตีนยังมีความสำคัญในการส่งสัญญาณของเซลล์ [[แอนติบอดี|ระบบภูมิคุ้มกัน]] การยึดติดของเซลล์ [[การลำเลียงแบบใช้พลังงาน]]ข้ามเยื่อ และ[[วัฏจักรเซลล์]]<ref name=Nelson>{{cite book | last = Nelson | first = David L. |author2=Michael M. Cox | title = Lehninger Principles of Biochemistry | publisher = W. H. Freeman and company | year = 2005 | location = New York | page = 841 | isbn = 0-7167-4339-6}}</ref> กรดอะมิโนยังมีผลต่อเมแทบอลิซึมพลังงานของเซลล์โดยการให้แหล่งคาร์บอนสำหรับเข้าสู่วัฏจักรกรดซิตริก ([[วัฏจักรกรดไตรคาร์บ็อกซิลิก]])<ref>{{cite journal |authors=Kelleher J, Bryan 3rd, B, Mallet R, Holleran A, Murphy A, and Fiskum G |title=Analysis of tricarboxylic acid-cycle metabolism of hepatoma cells by comparison of <sup>14</sup>CO<sub>2</sub> ratios |journal=Biochem J |volume= 246 |issue=3 |pages=633–639 |year=1987 |pmid=3120698 |doi=10.1042/bj2460633 |pmc=1148327}}</ref> โดยเฉพาะเมื่อแหล่งพลังงานหลักอย่างกลูโคสหาได้ยาก หรือเมื่อเซลล์มีความเครียดเมแทบอลิก<ref>{{cite journal |author1=Hothersall, J |author2=Ahmed, A |lastauthoramp=yes |title= Metabolic fate of the increased yeast amino acid uptake subsequent to catabolite derepression |journal=J Amino Acids |volume= 2013 |pages=e461901 |year=2013 |pmid=23431419 |doi=10.1155/2013/461901 |pmc=3575661}}</ref>
 
=== ลิพิด ===