ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2549"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
{{วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2553}}
 
#
'''การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง''' เป็นเหตุการณ์ใน[[ประเทศไทย]]ที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี [[พ.ศ. 2547]] ในช่วงปลาย[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54|รัฐบาลทักษิณ 1]] เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม [[กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์]] และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ [[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร]] เมื่อวันที่ [[25 กันยายน]] พ.ศ. 2547 เป็นครั้งแรก และเริ่มขยายเป็นวงกว้างขึ้นเมื่อถึงปลายปี [[พ.ศ. 2548]] ส่วนหนึ่งจากการนำของนาย[[สนธิ ลิ้มทองกุล]] ใน[[รายการเมืองไทยรายสัปดาห์]] ทาง[[โมเดิร์นไนน์ทีวี]] และขยายตัวในวงกว้างไปยังบุคคลในหลายสาขาอาชีพในเวลาต่อมา
# เรียกร้องให้ประชาชนอย่าได้เคารพกราบไหว้บุคคลผู้ไร้สัตย์ อย่าต้อนรับ อย่าให้ความสำคัญกับบุคคลประเภทนี้ไม่ว่าบุคคลประเภทนี้จะไปปรากฏกาย ณ สถานที่ใดๆ และร่วมกันแสดงพลังคัดค้านและประท้วงโดยสันติทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่องจนกว่า พ.ต.ท. ทักษิณจะยุติบทบาททางการเมืองโดยเด็ดขาด ทำกิจกรรมที่เน้นหลักอหิงสา ไม่ใช้ความรุนแรง ไม่ใช้กำลัง แต่จะใช้ความอดทน เช่น
 
ในการรณรงค์ขับนี้ มีทั้งผู้ที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยเป็นจำนวนมาก ในกลุ่มที่แสดงความคิดเห็นสนับสนุนให้นายกรัฐมนตรีลาออกก็มีความเห็นที่แตกต่างกันเป็นหลาย ๆ กลุ่ม ในเรื่องกระบวนการและประเด็นในการขับ ส่วนในกลุ่มที่สนับสนุน ซึ่งประกอบด้วยประชาชนจำนวนไม่น้อย รวมไปถึง[[กลุ่มคาราวานคนจน]] และขบวนรถอีแต๋นเดินทางมาจากต่างจังหวัด ก็ได้รวมตัวชุมนุมเพื่อสนับสนุนให้นายทักษิณ ชินวัตรดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป โดยปักหลักอยู่ที่[[สวนจตุจักร]] และตามจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทย
 
ผลจาก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในไทย พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2549]] ที่อดีตพรรคฝ่ายค้าน 3 พรรค ได้แก่ [[พรรคประชาธิปัตย์]] [[พรรคมหาชน]]และ[[พรรคชาติไทย]]ไม่ได้ร่วมลงสมัครรับเลือกตั้งด้วย ปรากฏว่า[[พรรคไทยรักไทย]] ซึ่ง พ.ต.ท. ทักษิณ เป็นหัวหน้าพรรค ยังคงได้รับคะแนนเสียงข้างมาก (56.45% ในผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ{{อ้างอิง}}) แต่ในบางพื้นที่ของเขตซึ่งไม่มีผู้สมัครอื่นลงแข่งนั้น ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยได้คะแนนน้อยกว่าผู้ไม่ออกเสียงและบัตรเสีย แต่ในท้ายที่สุดการเลือกตั้งครั้งนี้ก็ถูก[[ศาลรัฐธรรมนูญ]]พิพากษาให้เป็นโมฆะ และได้มีพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]]
 
ในวันเสาร์ที่ [[2 กันยายน]] พ.ศ. 2549 ได้มีกลุ่มเครือข่ายแพทย์ เภสัชกร พยาบาล และอาจารย์มหาวิทยาลัย 43 องค์กร 11 มหาวิทยาลัย ล่าชื่อกว่า 92 คน ปลุกกระแส "ต้านทักษิณ" และออกแถลงการณ์ให้ พ.ต.ท. ทักษิณ ยุติบทบาทจากการดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีทันที ซึ่งในการเสวนาโต๊ะกลมเรื่องการร่วมกันแก้ไขวิกฤตปัญหาของบ้านเมือง ที่[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เป็นการรวมตัวกันครั้งใหญ่ครั้งหนึ่งของแกนนำเครือข่ายการต่อต้าน
 
*'''การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง''' เป็นเหตุการณ์ใน[[ประเทศไทย]]ที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี [[พ.ศ. 2547]] ในช่วงปลาย[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54|รัฐบาลทักษิณ 1]] เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม [[กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์]] และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ [[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร]] เมื่อวันที่ [[25 กันยายน]] พ.ศ. 2547 เป็นครั้งแรก และเริ่มขยายเป็นวงกว้างขึ้นเมื่อถึงปลายปี [[พ.ศ. 2548]] ส่วนหนึ่งจากการนำของนาย[[สนธิ ลิ้มทองกุล]] ใน[[รายการเมืองไทยรายสัปดาห์]] ทาง[[โมเดิร์นไนน์ทีวี]] และขยายตัวในวงกว้างไปยังบุคคลในหลายสาขาอาชีพในเวลาต่อมา ในการรณรงค์ขับนี้ มีทั้งผู้ที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยเป็นจำนวนมาก ในกลุ่มที่แสดงความคิดเห็นสนับสนุนให้นายกรัฐมนตรีลาออกก็มีความเห็นที่แตกต่างกันเป็นหลาย ๆ กลุ่ม ในเรื่องกระบวนการและประเด็นในการขับ ส่วนในกลุ่มที่สนับสนุน ซึ่งประกอบด้วยประชาชนจำนวนไม่น้อย รวมไปถึง[[กลุ่มคาราวานคนจน]] และขบวนรถอีแต๋นเดินทางมาจากต่างจังหวัด ก็ได้รวมตัวชุมนุมเพื่อสนับสนุนให้นายทักษิณ ชินวัตรดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป โดยปักหลักอยู่ที่[[สวนจตุจักร]] และตามจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทย ผลจาก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในไทย พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2549]] ที่อดีตพรรคฝ่ายค้าน 3 พรรค ได้แก่ [[พรรคประชาธิปัตย์]] [[พรรคมหาชน]]และ[[พรรคชาติไทย]]ไม่ได้ร่วมลงสมัครรับเลือกตั้งด้วย ปรากฏว่า[[พรรคไทยรักไทย]] ซึ่ง พ.ต.ท. ทักษิณ เป็นหัวหน้าพรรค ยังคงได้รับคะแนนเสียงข้างมาก (56.45% ในผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ{{อ้างอิง}}) แต่ในบางพื้นที่ของเขตซึ่งไม่มีผู้สมัครอื่นลงแข่งนั้น ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยได้คะแนนน้อยกว่าผู้ไม่ออกเสียงและบัตรเสีย แต่ในท้ายที่สุดการเลือกตั้งครั้งนี้ก็ถูก[[ศาลรัฐธรรมนูญ]]พิพากษาให้เป็นโมฆะ และได้มีพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ในวันเสาร์ที่ [[2 กันยายน]] พ.ศ. 2549 ได้มีกลุ่มเครือข่ายแพทย์ เภสัชกร พยาบาล และอาจารย์มหาวิทยาลัย 43 องค์กร 11 มหาวิทยาลัย ล่าชื่อกว่า 92 คน ปลุกกระแส "ต้านทักษิณ" และออกแถลงการณ์ให้ พ.ต.ท. ทักษิณ ยุติบทบาทจากการดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีทันที ซึ่งในการเสวนาโต๊ะกลมเรื่องการร่วมกันแก้ไขวิกฤตปัญหาของบ้านเมือง ที่[[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เป็นการรวมตัวกันครั้งใหญ่ครั้งหนึ่งของแกนนำเครือข่ายการต่อต้าน การประท้วงขับไล่ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร สิ้นสุดลง ในวันที่ [[19 กันยายน]] พ.ศ. 2549 หลังจาก[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การก่อรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] นำโดย พล.อ. [[สนธิ บุญยรัตกลิน]] ก่อนวันที่จะมีการชุมนุมอย่างยืดเยื้อของกลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] และเครือข่ายในวันที่ 20 กันยายน ขณะที่พ.ต.ท. ทักษิณชินวัตร กำลังเข้าร่วมการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก
การประท้วงขับไล่ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร สิ้นสุดลง ในวันที่ [[19 กันยายน]] พ.ศ. 2549 หลังจาก[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การก่อรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] นำโดย พล.อ. [[สนธิ บุญยรัตกลิน]] ก่อนวันที่จะมีการชุมนุมอย่างยืดเยื้อของกลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] และเครือข่ายในวันที่ 20 กันยายน ขณะที่พ.ต.ท. ทักษิณชินวัตร กำลังเข้าร่วมการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก
 
== ประเด็นในการขับ ==
เส้น 106 ⟶ 101:
# เรียกร้องให้ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ยุติบทบาททางการเมืองโดยเด็ดขาดทันที เพื่อเปิดโอกาสให้องค์กรตรวจสอบเข้ามาพิสูจน์ข้อกล่าวหาต่าง ๆ ที่มีต่อ พ.ต.ท. ทักษิณ
# เรียกร้องให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐคำนึงถึงศักดิ์ศรีว่ามิใช่ข้าพนักงานของบริษัทรัฐบาลที่ไร้ความชอบธรรม
*#* การเดินขบวนเรียกร้อง จนกว่าจะขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งได้สำเร็จ
# เรียกร้องให้ประชาชนอย่าได้เคารพกราบไหว้บุคคลผู้ไร้สัตย์ อย่าต้อนรับ อย่าให้ความสำคัญกับบุคคลประเภทนี้ไม่ว่าบุคคลประเภทนี้จะไปปรากฏกาย ณ สถานที่ใดๆ และร่วมกันแสดงพลังคัดค้านและประท้วงโดยสันติทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่องจนกว่า พ.ต.ท. ทักษิณจะยุติบทบาททางการเมืองโดยเด็ดขาด ทำกิจกรรมที่เน้นหลักอหิงสา ไม่ใช้ความรุนแรง ไม่ใช้กำลัง แต่จะใช้ความอดทน เช่น
*#* ไม่อยากให้มีการตะโกนไล่ แต่อยากเห็นคนไทยไม่ต้อนรับ พ.ต.ท.ทักษิณ เมื่อพบเห็นก็รวมกลุ่มกันหัวเราะไล่ผู้นำดีกว่าการใช้ความรุนแรง
** การเดินขบวนเรียกร้อง จนกว่าจะขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งได้สำเร็จ
*#* ไม่สนับสนุนหรือซื้อสินค้าของบริษัท ห้างร้าน ที่เชื่อว่าสนับสนุน[[ระบอบทักษิณ]] เช่น [[เซเว่น อีเลฟเว่น]] [[ไทยแอร์เอเชีย]] เป็นต้น
** ไม่อยากให้มีการตะโกนไล่ แต่อยากเห็นคนไทยไม่ต้อนรับ พ.ต.ท.ทักษิณ เมื่อพบเห็นก็รวมกลุ่มกันหัวเราะไล่ผู้นำดีกว่าการใช้ความรุนแรง
** ไม่สนับสนุนหรือซื้อสินค้าของบริษัท ห้างร้าน ที่เชื่อว่าสนับสนุน[[ระบอบทักษิณ]] เช่น [[เซเว่น อีเลฟเว่น]] [[ไทยแอร์เอเชีย]] เป็นต้น
 
== องค์กรและกลุ่มบุคคลที่ออกมาร่วมขับ ==