ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทรทัน (ดาวบริวาร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
เพิ่มสถานที่ที่มีไนโตรเจนในบรรยากาศ คือ ดาวพลูโต
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{distinguish|ไททัน (ดาวบริวาร)}}
[[ไฟล์:Triton moon mosaic Voyager 2 (large).jpg|thumb|ไทรทัน]]
'''ไทรทัน''' ({{lang-en|Triton}})<ref>[http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/triton.html/ ไทรทัน]</ref> เป็น[[ดาวบริวาร]]ที่ใหญ่ที่สุดของ[[ดาวเนปจูน]] เป็นสถานที่เพียงหนึ่งในสามสี่แห่งใน[[ระบบสุริยะ]] ที่มี[[ไนโตรเจน|ก๊าซไนโตรเจน]]ในบรรยากาศ นอกเหนือจาก[[โลก]] และ,[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ดาวบริวารไททัน]] (Titan Moon) ของ[[ดาวเสาร์]] และ [[ดาวพลูโต]]
 
ไทรทันมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2,707 ก.ม. มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ -235 องศาเซลเซียส (35 เคลวิน) สภาพภูมิประเทศเป็นหุบเหวและร่องลึกมากมาย เนื่องจากอุณหภูมิที่ต่ำทำให้เกิดน้ำแข็ง และน้ำแข็งละลายกลับไปกลับมาซ้ำแล้วซ้ำเล่า นอกจากนั้นยังมี[[ภูเขาไฟน้ำแข็ง]] (Ice Valcanoes) ที่พ่นน้ำพุแรงดันสูง ประกอบด้วยไนโตรเจนเหลว มีเทนแข็ง และฝุ่นที่เย็นจัดขึ้นไปกว่า 8 กิโลเมตร เหนือพื้นผิวของดาวบริวาร
บรรทัด 8:
 
ไทรทันเป็น[[แถบไคเปอร์|วัตถุแถบไคเปอร์]] (Kuiper Belt Object) มีถิ่นกำเนิดอยู่บริเวณขอบของ[[ระบบสุริยะ]] เลยวงโคจรของ[[ดาวพลูโต]] ออกไปและถูกดาวเนปจูนดูดจับเข้ามาเป็นบริวาร รูปทรงสัณฐานของไทรทันที่สังเกตเห็น จะมีแนวเฉดฟ้าอ่อนจาก Nitrogen ice เช่นเดียวกับไอของน้ำแข็งแห้ง
 
 
== อ้างอิง ==