ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kuy
บรรทัด 1:
KuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuyKuy[[ไฟล์:Unisphere-cc.jpg|thumb|right|ลูกโลก]]
 
'''ลูกโลก''' ({{lang-en|Globe}}) เป็น[[เครื่องมือทางภูมิศาสตร์]]ที่ใช้สำหรับการศึกษาวิชา[[ภูมิศาสตร์]] โดยจำลองลักษณะของ[[โลก]]หรือ[[เทห์ฟ้า]]โดยอาจทำมาจากกระดาษ, พลาสติกหรืออื่น ๆ ลูกโลกทำหน้าที่คล้ายแผนที่แต่ต่างจาก[[แผนที่]]ตรงที่ลูกโลกจะไม่บิดเบือนความจริงแต่จะเป็นเพียงการลดขนาดของโลกหรือเทห์ฟ้านั้น ๆ จึงทำให้สามารถแสดงภาพรวมอย่างสภาพภูมิประเทศ ขนาดประเทศและลักษณะทางกายภาพได้เหมือนจริงมากกว่า แต่ก็มีข้อเสียด้วยเช่นกันคือลูกโลกจะไม่สามารถมองภาพรวมทั้งหมดของโลกในเวลาเดี่ยวกันได้อีกทั้งยังพกพาได้ลำบากด้วยนั้นเอง<ref>[http://khulekthawara-1.blogspot.com/2011/10/blog-post_6129.html ลูกโลก]</ref>
 
ลูกโลกมีสองแบบคือลูกโลกธรรมดาหรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า ''terrestrial globe'' แปลตรงตัวว่าโลกบกกับอีกแบบคือ[[ทรงกลมฟ้า]]ในภาษาอังกฤษเรียกว่า ''celestial globe''แปลตรงตัวว่าโลกท้องฟ้าซึ่งปกติแล้วจะแสดงกลุ่มดาวบนท้องฟ้าหรือแสดงดวงดาวบนท้องฟ้าและตำแหน่งของวัตถุทางดาราศาสตร์ที่น่าสนใจ
 
คำว่า ''globe'' มาจาก[[ภาษาละติน]]คำว่า ''globus'' ซึ่งมีความหมายว่าทรงกลม ลูกโลกนั้นมีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนาน บุคคลที่กล่าวถึงลูกโลกเป็นครั้งแรกคือ[[สตราโบ]]ซึ่งได้อธิบายไวใน The Globe of Crates เมื่อ 150 ปีก่อนคริสต์ศักราช [[มาร์ติน เบไฮม์]]เป็นคนผลิตลูกโลกที่เก่าแก่ที่สุดชื่อว่า[[เออดาเฟล]] (Erdapfel) เมื่อ พ.ศ. 2035<ref>{{cite web |url=http://nuernberg.bayern-online.de/die-stadt/wissenswertes/der-behaim-globus/ |title=Der Behaim-Globus in Nürnberg |publisher=Bayern-online|language=de}}</ref>ส่วน[[ทรงกลมฟ้า]]ที่เก่าแก่ที่สุดอยู่บน[[รูปสลักแอตลาสแบกโลก]]ที่แกะสลักในสมัยศตวรรษที่ 2 ของ[[จักรวรรดิโรมัน]]
 
== ประวัติ ==
{{โครงส่วน}}
 
== วิธีการผลิต ==
{{multiple image|caption_align=left
| header_align = center
| footer_align = center
| align = right
| total_width = 200
| image1 = Wereldnieuws, Nederlandse globe industrie legt haar kaarten op tafel Weeknummer 55-04 - Open Beelden - 78141.ogv | width1 = 384 | height1 = 288
| alt1 =
| caption1 = ภาพยนตร์สั้นของเนเธอร์แลนด์แสดงวิธีการผลิตลูกโลก (พ.ศ. 2498)
| footer =
}}
โดยปกติแล้วการผลิตลูกโลกจะใช้การพิมพ์ลงในแผ่นกระดาษกอร์ (Gore) ที่มีลักษณะกระดาษรูปโค้งจันทร์เสี้ยว<ref name="sourceforge">{{cite web|url=http://netpbm.sourceforge.net/doc/globe.jpg|title=Image: globe.jpg, (450 × 100 px)|publisher=netpbm.sourceforge.net|accessdate=2015-09-01}}</ref>และนำมาติดลงบนวัตถุทรงกลมซึ่งส่วนมากจะเป็นไม้ หากลูกโลกนั้นมีกระดาษกอร์มาเท่าไหร่ผิวของลูกโลกก็จะเรียบเนียนมากเท่านั้น ในปัจจุบันลูกโลกส่วนมากใช้[[เทอร์โมพลาสติก]]ในการผลิต ตั้งแกนโลกให้เอียงจากแนวตั้งฉากเป็นมุมประมาณ 23.5° เพื่อให้สามารถทำให้นึกภาพได้ง่ายขึ้นว่าฤดูกาลเปลี่ยนแปลงอย่างไร
 
== การแสดงผล ==
แผนที่จะแสดงความบิดเบือนของโลกเช่นทำให้บริเวณขั่วโลกมีขนาดใหญ่ขึ้น แต่ว่าลูกโลกนั้นจะมีรูปร่างที่เหมือนจริงทำให้มันมีลักษณะคล้ายโลกมากกว่าแผนที่ ลูกโลกมีรูปทรงกลมคล้ายผลส้ม คือ ตรงบริเวณขั้วโลกทั้งสองยุบราบลงเล็กน้อยและป่องตรงบริเวณศูนย์สูตร โลกมีเส้นผ่านศูนย์กลางที่เส้นศูนย์สูตร ยาว 12,756 กิโลเมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลางจากขั้วโลกเหนือถึงขั้วโลกใต้ยาว 12,714 กิโลเมตร <ref>The Earth’s circumference is 40&nbsp;million&nbsp;m because the [[metre]] was originally defined to be one 10-millionth of the distance between the poles and the equator.</ref><ref>[[Arc length#Arcs of great circles on the Earth]]</ref>นี้ทำให้เห็นว่าโลกนั้นไม่ได้กลมเปะแต่ถึงอย่างงั้นค่าพวกนี้ก็เป็นแค่ส่วนต่างเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
 
ผิวโลกนั้นจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็น[[มหาสมุทร]]มีเนื้อที่รวมกัน 375 ล้านตารางกิโลเมตรและส่วนที่เป็น[[พื้นดิน]]อย่างทวีปและเกาะต่าง ๆ มีเนื้อที่รวมกัน 150 ล้านตารางกิโลเมตร เมื่อรวมทั้งพื้นน้ำและแผ่นดินแล้ว โลกจะมีเนื้อที่รวมประมาณ 525 ล้านตารางกิโลเมตร โดยคิดสัดส่วนบริเวณผิวของเปลือกโลกจะเป็นพื้นน้ำ 2 ใน 3 ส่วน และส่วนที่เป็นแผ่นดิน 1 ใน 3 ส่วน ดังนั้น การสร้างลูกโลกจึงต้องเป็นไปตามสัดส่วนของโลก แต่เนื่องจากเมื่อมีการย่อส่วนเป็นลูกโลกแล้ว จะพบว่าค่าความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางที่เส้นศูนย์สูตร และจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต้จะมีค่าไม่ต่างกันมากนัก จึงเห็นได้ว่ารูปโลกมีลักษณะทรงกลม <ref>[https://etcgeography.wordpress.com/2011/07/19/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-1/ โลก]</ref><ref>[http://pasitzaza.blogspot.com/ ดาวเคาระห์โลก]</ref>
 
ข้อมูลที่แสดงบนลูกโลกนั้นมีการใช้สัญลักษณ์, สี, หรืออื่น ๆ ในการแสดงสภาพบนผิวโลกเช่นความสูงความต่ำเป็นต้นโดยจะมีการแสดง 2 แบบ ดังนี้
# ลูกโลกแสดงลักษณะผิวโลก โดยแบ่งผิวโลกออกเป็น 2 ส่วนอย่างชัดเจน คือ ส่วนที่เป็นทะเลหรือหมาสมุทรโดยส่วนมากจะเป็นสีฟ้าและน้ำเงิน และแสดงพื้นดินด้วยสีต่างๆตามความสูงโดยจะมีการกำหนดอยู่บนลูกโลกนั้นๆ
# ส่วนที่สมมติขึ้น เช่นมีการใช้เส้นละติจูด ลองจิจูด เส้นศูนย์สูตร เพื่อเป็นการบอกพิกัดทางภูมิศาสตร์ หรือมีการใช้จุดหรือสัญลักษณ์ในการบอกเมืองท่าหรือเมืองสำคัญเป็นต้น <ref>[https://sites.google.com/site/nathchya2/luklok-globe การแสดงผลบนลูกโลก]</ref>
 
เช่น<ref>[http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355201/p37-4.html การแสดงผล]</ref>
 
* เครื่องหมายแสดงทิศ
* ทางรถยนต์
* ทางรถไฟ
* เส้นแบ่งอาณาเขต
* แม่น้ำ
* จังหวัด
* อำเภอ
 
== รูปภาพ ==
<gallery mode="packed" heights="150">
ไฟล์:Terrestrial globes.jpg|ลูกโลกในศตวรรษที่19
เส้น 54 ⟶ 12:
</gallery>
 
== ประโยชน์ ==
 
ทำให้เราได้มองโลกได้ตามความจริงและได้เห็นทุกมุมมองของโลกแสดงลายระเอียดที่ถูกต้องกว่า
 
== ข้อเสีย ==
ยากในการพกพาแสดงข้อมูลรายละเดียดได้น้อยไม่สามารถแสดงข้อมูลรายละเอียดทั้งโลกได้ในคราวเดียวกัน
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ลูกโลก"