ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โตโยต้า ไฮลักซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
'''โตโยต้า ไฮลักซ์''' ({{lang-en|Toyota Hilux}}) หรือที่คนไทยเรียกติดปากว่า ''ไฮลักซ์ วีโก้'' (Hilux Vigo) เป็นรถกระบะที่ถูกผลิตและพัฒนาโดยรถยนต์แบรนด์ [[โตโยต้า]] เพื่อมาแทนรถกระบะรุ่นเก่าคือ โตโยต้า สเตาท์ (Toyota Stout) เริ่มผลิตครั้งแรกใน [[พ.ศ. 2511]] จนถึงปัจจุบัน มีวิวัฒนาการตามช่วงเวลา 8 Generation (โฉม) ดังนี้
 
== Generation รุ่นที่ 1 ([[พ.ศ. 2511]] - [[พ.ศ. 2515|2515]]) ==
[[ไฟล์:Toyota Hilux N10 001.JPG|thumb|โตโยต้า ไฮลักซ์ โฉมที่ 1]]
โฉมแรกนี้ เริ่มผลิตครั้งแรกในเดือน[[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2511]] โดยใช้ชื่อรุ่นว่า Hilux ซึ่งมาจากคำว่า "'''hi'''ghly-'''lux'''urious" แปลว่า หรูหราเหนือระดับ ซึ่งในที่นี้หมายความว่าหรูหรามากกว่าโตโยต้า สเตาท์ในสมัยนั้น
บรรทัด 20:
ส่วนเครื่องยนต์จะใช้ขนาด 1490 ซีซี 2R I4 ในช่วงแรก แต่ต่อมาใน [[พ.ศ. 2514]] ไฮลักซ์ก็ได้เปลี่ยนเป็นเครื่องยนต์ 1587 ซีซี 12R I4 ยกเว้นในสหรัฐอเมริกา ที่จะใช้เครื่องยนต์ที่ใหญ่กว่า คือ เริ่มจาก 1897 ซีซี 3R I4 85 แรงม้า, แล้วเปลี่ยนเป็น 1858 ซีซี 8R SOHC I4 97 แรงม้าใน [[พ.ศ. 2513]], และเป็น 1968 ซีซี 18R SOHC I4 108 แรงม้าใน [[พ.ศ. 2515]]
{{clear}}
== Generation รุ่นที่ 2 ([[พ.ศ. 2515]] - [[พ.ศ. 2521|2521]]) ==
[[ไฟล์:Toyota Hilux N20 01.jpg|thumb|โตโยต้า ไฮลักซ์ โฉมที่ 2]]
โฉมที่สองนี้ รหัสตัวถัง RN20 มีการปรับปรุงให้ไฮลักซ์มีความสะดวกสบายในห้องโดยสารมากขึ้น ใช้เครื่องยนต์ 1587 ซีซี 12R I4 ยกเว้นในอเมริกา ที่ใช้เครื่องยนต์ 1968 ซีซี 18R SOHC I4 108 แรงม้า ซึ่งต่อมาเครื่องยนต์นี้ถูกนำไปขายควบคู่เป็นทางเลือกกับเครื่อง 1587 ซีซี นอกอเมริกาใน [[พ.ศ. 2520]]
บรรทัด 26:
[[พ.ศ. 2518]] ไฮลักซ์มีการปรับโฉมไมเนอร์เชนจ์ ให้มีขนาดใหญ่และสะดวกสบายขึ้นอีก มีการนำระบบเกียร์ธรรมดา 5 สปีดมาใช้ในไฮลักซ์เป็นครั้งแรก ใช้เครื่องยนต์ 2189 ซีซี 20R SOHC I4 96 แรงม้า ทำให้ผู้ซื้อในอเมริกัน ตั้งชื่อเล่นให้มันว่า Pickup เป็นต้นกำเนิดของคำว่าปิคอัพ ซึ่งต่อมาคำนี้ก็กลายเป็นคำศัพท์ที่แปลว่ารถกระบะ
{{clear}}
== Generation รุ่นที่ 3 ([[พ.ศ. 2522]] - [[พ.ศ. 2526|2526]]) ==
[[ไฟล์:Toyota Pickup .jpg|thumb|โตโยต้า ไฮลักซ์ โฉมที่ 3]]
โฉมนี้ภาษาชาวบ้านเรียกว่า ม้ากระโดด เป็นโฉมแรกที่ไฮลักซ์มีการผลิตรุ่นขับเคลื่อน 4 ล้อ และเป็นโฉมที่มีการใช้เกียร์อัตโนมัติกับไฮลักซ์ โดยโฉมบุกเบิกนี้จะเป็นเกียร์อัตโนมัติ 3 สปีด ขายควบคู่กับเกียร์ธรรมดา 4 และ 5 สปีด ทำให้ไฮลักซ์ได้เข้าสู่วงการรถเอสยูวี (SUV) และรถโตโยต้า โฟร์รันเนอร์ (4Runner) ก็เป็นรุ่นที่แตกหน่อออกมาจากไฮลักซ์โฉมนี้
{{clear}}
 
== Generation รุ่นที่ 4 ([[พ.ศ. 2527]] - [[พ.ศ. 2531|2532]]) ==
[[ไฟล์:Toyota pickup.jpg|thumb|โตโยต้า ไฮลักซ์ โฉมที่ 4]]
โฉมนี้เป็นโฉมแรกที่ไฮลักซ์มีการผลิตกระบะรุ่นที่นั่ง 2 แถว 2 ประตู (เอ็กซ์ตร้าแค็บ) ขายคู่กับที่นั่ง1 แถว 2 ประตูแบบดั้งเดิม (ซิงเกิ้ลแค็บ)พรีเซ็นเตอร์ โดย [[เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์]]
บรรทัด 39:
{{clear}}
 
== Generation รุ่นที่ 5 ([[พ.ศ. 2532]] - [[พ.ศ. 2541|2541]]) ==
[[ไฟล์:Toyota Hilux N80 001.JPG|thumb|โตโยต้า ไฮลักซ์ โฉมที่ 5]]
โฉมนี้เป็นโฉมแรกที่ไฮลักซ์มีบอดี้แบบ 2 แถว 4 ประตู(ดับเบิ้ลแค็บ) เกียร์อัตโนมัติเพิ่มจาก 3 สปีด เป็น 4 สปีด และไฮลักซ์ได้รับรางวัล Truck of the Year (รถบรรทุกแห่งปี) ประจำปี [[พ.ศ. 2532]]
บรรทัด 50:
{{clear}}
 
== Generation รุ่นที่ 6 ([[พ.ศ. 2541]] - [[พ.ศ. 2547|2547]]) ==
[[ไฟล์:2004 Toyota HIlux Tiger 3.0 G-Limited (KDN151R-CRMSYT).png|thumb|โตโยต้า ไฮลักซ์ โฉมที่ 6]]
โด่งดังขึ้นใน [[พ.ศ. 2541]]ในชื่อ โตโยต้า ไฮลักซ์ ไทเกอร์ (Toyota Hilux Tiger) ด้วยเครื่องยนต์ 5L และเริ่มใช้เครื่องยนต์หัวฉีดอิเล็กทรอนิกในปี [[พ.ศ. 2543]], เริ่มใช้เครื่องยนต์ 1KZ ใน [[พ.ศ. 2544]] เป็นระยะสั้นๆ ก่อนจะเปลี่ยนไปใช้เครื่องยนต์ ดีโฟร์ดี (D4D) ในปลายปีเดียวกัน
{{clear}}
 
== Generation รุ่นที่ 7 ([[พ.ศ. 2547]] - [[พ.ศ. 2558|2558]]) ==
[[ไฟล์:Toyota Hilux Double Cab 3.0 D-4D front.jpg|thumb|โตโยต้า ไฮลักซ์ โฉมที่ 7]]
โฉมนี้ เป็นที่รู้จักในประเทศไทยอย่างล้นหลามในชื่อ โตโยต้า '''ไฮลักซ์ วีโก้''' (Toyota Hilux Vigo) การออกแบบเบื้องต้นของวีโก้ถูกคัดลอกนำไปใช้ในการออกแบบรถ [[โตโยต้า อินโนวา]] (Toyota Innova) และ [[โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์]] (Toyota Fortuner)
บรรทัด 82:
{{clear}}
 
== Generation รุ่นที่ 8 ([[พ.ศ. 2558]] - ปัจจุบัน) ==
{{Infobox automobile
| name = โตโยต้า ไฮลักซ์ รีโว่ (AN120/AN130)