ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลิกทาสและไพร่ในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การเลิกทาส''' และ '''การเลิกไพร่''' เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่งของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่ 45) เป็นการยกเลิกระบบที่คนชั้นสูงตั้งขึ้น เพื่อกดขี่ราษฎรให้ทำงานรับใช้หรือส่งทรัพย์สินให้โดยไม่มีกำหนดว่าจะสิ้นสุดลงเมื่อใด<ref name="ชัย286">ชัย เรืองศิลป์. หน้า 286.</ref>
 
== การเลิกทาส ==
บรรทัด 23:
== การเลิกไพร่ ==
{{ดูเพิ่มที่|ไพร่}}
หมอสมิธ บรรณารำคาญกะบอกกันเด้อบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ไซแอมรีโพซิตอรี เขียนบทความตำหนิรัฐบาลสยามอย่างรุนแรง ด้วยเห็นว่า "ในบรรดาประเทศเจริญทั้งหลาย พระเจ้าแผ่นดินก็ดี พวกขุนนางก็ดี ไม่มีสิทธิ์เกณฑ์แรงราษฎรผู้เสียภาษีอากรโดยไม่ให้อะไรตอบแทน"<ref name="ชัย289">ชัย เรืองศิลป์. หน้า 289.</ref> เพราะไพร่รับราชการโดยไม่ได้รับค่าตอบแทน ซ้ำยังต้องออกค่าใช้จ่ายทุกอย่างในระหว่างการรับราชการนั้นเองอีกด้วยต่างหาก เช่น ค่าเดินทาง ค่าอาหาร เป็นต้น<ref name="ชัย289"/> นอกจากนี้ยังมีพวก "คนไทยหนุ่ม" ที่อยากให้เลิกขนบไพร่ บางส่วนแสดงความคัดค้านที่รัฐบาลสักเลกในฤดูเก็บเกี่ยวข้าว เพราะทำให้การทำนาได้รับความเสียหาย<ref name="ชัย290">ชัย เรืองศิลป์. หน้า 290.</ref>
 
ขนบไพร่นี้บังคับให้ราษฎรอายุตั้งแต่ 15-16 ปี จนถึง 70 ปี ต้องทำงานรับใช้หรือส่งส่วยให้แก่ชนชั้นปกครอง แบ่งออกเป็นไพร่หลวง ไพร่สมและไพร่ส่วย ไพร่มีกำหนดรับราชการเดือนเว้นเดือน ในสมัยอยุธยา ปีละ 6 เดือน ลดลงมาเหลือปีละ 4 เดือนในสมัยรัชกาลที่ 1 และเหลือ 3 เดือนในรัชกาลที่ 2<ref>ชัย เรืองศิลป์. หน้า 287-288.</ref> หากไม่อยากรับราชการก็ต้องจ่าย "ค่าราชการ" เดือนละ 6 บาท<ref>ชัย เรืองศิลป์. หน้า 288.</ref>
บรรทัด 66:
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ข้อมูลอ้างอิง ==
 
* ชัย เรืองศิลป์ (2541). ''ประวัติศาสตร์ไทยสมัย พ.ศ. 2352-2453 ด้านเศรษฐกิจ''. ไทยวัฒนาพานิช. ISBN 9740841244.