157,350
การแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
|||
[[ไฟล์:Laterite quarry, Angadipuram, India. C 004.jpg|thumb|การตัดอิฐจากศิลาแลง ในประเทศอินเดีย]]
[[ไฟล์:K Laterite.JPG|thumb]]
'''ศิลาแลง''' หรือ '''
== ลักษณะทั่วไป ==
== การเกิด ==
ศิลาแลงเกิดขึ้นได้ในสภาพภูมิอากาศร้อนชื้น ฝนตกมาก แต่แล้งนานด้วย ในฤดูฝนน้ำใต้ดินมีระดับสูง ทำให้ท่วมตอนบนของชั้นดิน (ซึ่งต่อไปกลายเป็นศิลาแลง) ระหว่างนั้น น้ำฝนจะละลายเอาสารประกอบ[[อะลูมิเนียมออกไซด์]]เอาไว้ เมื่อถึงหน้าแล้ง น้ำใต้ดินลดระดับต่ำลง ก็พาเอาสารประกอบอะลูมิเนียมลงไปสู่ที่ต่ำ เวลานานเข้า วัสดุบริเวณด้านบนจึงมีสารประกอบ[[เหล็กออกไซด์]]มากขึ้น และมักรวมกันเป็นกลุ่ม จึงเกิดเป็นโพรงว่าง เป็นทางให้น้ำใต้ดินซึมขึ้นลงได้ง่ายขึ้น และชะ
== ประเภทของศิลาแลง ==
ในประเทศไทยพบศิลาแลง
# แบบที่เชื่อมยึดตัวแน่น เป็นแผ่นต่อเนื่องเป็นพืด เรียกว่า "ศิลาแลง" หรือ "แม่รัง" นิยมตัดเป็นแท่งคล้ายอิฐ นำไปสร้างสิ่งก่อสร้าง กำแพง ปูทางเดิน และ
# แบบที่เกาะตัวกันหลวมๆ ลักษณะร่วน เรียกว่า "ลูกรัง" นิยมใช้อัดพื้นถนน เพราะเมื่อมีการบดอัด และได้รับความชื้นจากน้ำแล้ว จะจับตัวแน่นดีกว่าดิน หรือทรายธรรมดา
|