ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผนลับ 20 กรกฎาคม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "รัสเทนบูร์ก" → "รัสเทินบวร์ค" +แทนที่ "แคว้นปรัสเซียตะวันออก" → "มณฑลปรัสเซียตะวันออก" ด้วยสจห.
บรรทัด 6:
| caption = ภาพห้องประชุมใน "[[รังหมาป่า]]" ไม่นานหลังจากเกิดการระเบิดที่มีเป้าหมายเพื่อลอบสังหารฮิตเลอร์
| date = 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1944
| place = {{unbulleted list|item_style=line-height:1.25em; |[[รัสเทนบูร์กรัสเทินบวร์ค]], [[แคว้นปรัสเซียตะวันออก|มณฑลปรัสเซียตะวันออก]], [[นาซีเยอรมนี|ไรช์มหาเยอรมัน]] |{{small|(ปัจจุบันอยู่ใน[[จังหวัดวาร์เมีย-มาซูรือ]] [[ประเทศโปแลนด์]])}} |{{coord|54.079344|21.493544|display=inline|region:PL-WM_type:landmark|name=Site of 20 July 1944 Plot at Wolfsschanze or Wolf's Lair}}}}
| result = รัฐบาลฮิตเลอร์ ได้รับชัยชนะและฝ่ายผู้ก่อรัฐประหารกระทำการยึดอำนาจไม่สำเร็จ
| combatant1 = ฝ่ายต่อต้านฮิตเลอร์
บรรทัด 17:
}}
 
'''แผนลับ 20 กรกฎาคม''' ({{lang-en|20 July plot}}) เป็นความพยายามลอบสังหาร[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] [[ฟือเรอร์]]แห่งไรช์ที่สาม ภายในกองบัญชาการสนาม "[[รังหมาป่า]]" ใกล้เมืองรัสเทนบูร์กรัสเทินบวร์ค แคว้นมณฑลปรัสเซียตะวันออก เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 วัตถุประสงค์ประจักษ์ของความพยายามลอบสังหารดังกล่าว คือ เพื่อยึดการควบคุมประเทศเยอรมนีและกองทัพเยอรมันทางการเมืองจาก[[พรรคนาซี]] (รวมถึง[[เอ็สเอ็ส]]) เพื่อให้ได้มาซึ่งสันติภาพกับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ให้เร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ความปรารถนาเบื้องหลังของนายทหารระดับสูงของ[[เวร์มัคท์]]หลายนาย คือ เพื่อแสดงให้โลกเห็นว่าชาวเยอรมันทุกคนไม่ได้เป็นอย่างฮิตเลอร์และพรรคนาซี แม้จะยังไม่ทราบรายละเอียดการริเริ่มสันติภาพของผู้ก่อการ<ref>Hans Helmut Kirst "20th of July"</ref><ref>Winston Churchill,war annual books, "1944"</ref><ref>William L. Shirer "The Rise and Fall of the Third Reich", part IV, chapter "20th July"</ref> แต่พวกเขาน่าจะรวมข้อเรียกร้องให้ยอมรับการผนวกดินแดนโดยเยอรมนีในทวีปยุโรป<ref>vKlemens von Klemperer. German Resistance against Hitler: The Search for Allies Abroad 1938-1945</ref><ref>Peter Hoffmann. History of the German Resistance, 1933-1945, page 608-609</ref>
 
แผนลับดังกล่าวเป็นความพยายามสูงสุดของขบวนการกู้ชาติเยอรมันหลายกลุ่มในการโค่นรัฐบาลเยอรมันอันมีพรรคนาซีเป็นผู้นำ ความล้มเหลวทั้งในการลอบสังหารฮิตเลอร์และรัฐประหารซึ่งวางแผนให้เกิดขึ้นหลังการลอบสังหารนั้นนำไปสู่การจับกุมประชาชนอย่างน้อย 7,000 คนโดย[[เกสตาโพ]]<ref name="shirer1393">Shirer 1960, p. 1393.</ref> ตามรายงานการประชุมกิจการนาวีของฟือเรอร์ มีผู้ถูกประหารชีวิต 4,980 คน<ref name="shirer1393"/>
บรรทัด 56:
 
=== ความพยายามล้มเหลวที่ผ่านมา ===
ระหว่าง ค.ศ. 1943 ถึงต้น ค.ศ. 1944 ฟอน เทรสคอว์และฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์กพยายมอย่างน้อยสี่ครั้งเพื่อให้ผู้ก่อการทหารคนหนึ่งเข้าใกล้ฮิตเลอร์มากพอและนานพอที่จะสังหารเขาด้วยระเบิดมือ ระเบิดหรือปืนพกลูกโม่ ทว่า ภารกิจนี้ยากขึ้นเป็นลำดับ เมื่อสถานการณ์สงครามเลวร้ายลง ฮิตเลอร์ไม่ปรากฏตัวในที่สาธารณะและแทบไม่ค่อยเยือนกรุงเบอร์ลินอีก เขาใช้เวลาส่วนใหญ่ที่สำนักงานใหญ่ที่[[รังหมาป่า]] (โวลฟส์ซคันเซอ) ใกล้รัสเทนบูร์กในรัสเทินบวร์คใน[[ปรัสเซียตะวันออก]] โดยพักผ่อนเป็นบางครั้งที่โอเบอร์ซาลซ์บูร์ก สถานปลีกวิเวกแถบภูเขาในบาวาเรีย ใกล้[[แบร์ชเทิสกาเดิน]] ทั้งสองที่ เขามีการคุ้มกันแน่นหนาและแทบไม่พบผู้ที่เขาไม่รู้จักหรือเชื่อใจ ฮิมม์เลอร์และเกสตาโพทวีความสงสัยแผนลับต่อฮิตเลอร์ และเจาะจงสงสัยนายทหารเสนาธิการ ซึ่งเป็นบ่อเกิดของการคบคิดที่กำลังดำเนินเอาชีวิตของฮิตเลอร์อยู่ไม่น้อยจริง ๆ
 
=== โอกาสสุดท้าย "ไม่ว่าต้องเสียอะไรก็ตาม" ===
บรรทัด 73:
== ลำดับเหตุการณ์ ==
=== ก่อนวันที่ 20 กรกฎาคม ===
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1984-079-02, Führerhauptquartier, Stauffenberg, Hitler, Keitel crop.jpg|thumb|225px|ที่รัสเทนบูร์กรัสเทินบวร์ค วันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 ชเตาฟ์เฟนแบร์กอยู่ซ้าย ฮิตเลอร์อยู่กลาง [[วิลเฮล์ม ไคเทิล|ไคเทิล]]อยู่ขวา ผู้ที่กำลังเขย่ามือฮิตเลอร์ คือ พลเอก [[คาร์ล โบเดนชัทซ์]] ซึ่งภายหลังได้รับบาดเจ็บสาหัสจากระเบิดของชเตาฟ์เฟนแบร์ก]]
 
วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 ชเตาฟ์เฟนแบร์กได้รับแต่งตั้งเป็น[[เสนาธิการ]]ของพลเอกฟรอมม์ที่สำนักงานใหญ่กำลังรักษาดินแดนที่เบนด์เลอร์ชตรัสเซอกลางกรุงเบอร์ลิน ตำแหน่งนี้เปิดโอกาสให้เขาสามารถเข้าร่วมการประชุมทางทหารของฮิตเลอร์ได้ ไม่ว่าที่รังหมาป่าในปรัสเซียตะวันออกหรือ[[แบร์ชเทิสกาเดิน]] ฉะนั้นจะให้โอกาสเขา ซึ่งอาจเป็นโอกาสสุดท้ายที่ปรากฏขึ้น ในการฆ่าฮิตเลอร์ด้วยระเบิดหรือปืนพก ขณะเดียวกัน กลุ่มต่อต้านได้พันธมิตรสำคัญคนใหม่ ซึ่งรวมพลเอก คาร์ล-ไฮน์ริช ชตึลพ์นาเกิล ผู้บัญชาการทหารเยอรมันในฝรั่งเศส ผู้จะควบคุมกรุงปารีสเมื่อฮิตเลอร์ถูกฆ่าแล้ว และหวังว่าจะเจรจาการสงบศึกทันทีกับกองทัพสัมพันธมิตรที่กำลังรุกเข้ามา
บรรทัด 94:
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1972-025-64, Hitler-Attentat, 20. Juli 1944.jpg|thumb|left|162px|ทหารกำลังถือกางเกงที่ฮิตเลอร์สวมระหว่างความพยายามลอบสังหารที่ไม่เป็นผล<ref>Galante, Pierre. ''Operation Valkyrie''. Harper and Row, 1981, ISBN 0060380020. Photo insert section.</ref>]]
 
ในขณะที่กำลังเดินไปที่รถยนต์ ชเตาฟ์เฟนแบร์กได้ยินเสียงระเบิดและเห็นควันลอยออกจากหน้าต่างที่แตกของโรงทหารคอนกรีตนั้น ก็เชื่อว่าฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว จึงโดดขึ้นรถทหารของเขาพร้อมนายทหารผู้ช่วย ร้อยโทแวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทิน และหลอกผ่านด่านตรวจสามแห่งก่อนออกจากรังหมาป่า จากนั้นร้อยโทแฮฟเทินได้โยนแท่งระเบิดลูกที่สองที่ไม่ได้ใช้และยังไม่ได้แทงเข็มแทงชนวนเข้าไปในป่า ขณะเร่งรุดไปยังสนามบินรัสเทนบูร์กรัสเทินบวร์คทันก่อนทราบว่าชเตาฟ์เฟนแบร์กอาจรับผิดชอบต่อเหตุระเบิดดังกล่าว เมื่อเวลา 13.00 น. เขานั่งเครื่องไฮน์เคิล เฮอ 111 ที่พลเอกแอดวร์ท วากเนอร์ จัดเตรียมไว้ให้
 
เมื่อเครื่องบินของชเตาฟ์เฟนแบร์กถึงกรุงเบอร์ลินเมื่อเวลาราว 16.00 น.<ref>[http://ondemand-mp3.dradio.de/file/dradio/2010/07/20/dlf_20100720_1423_950da222.mp3 German radio broadcast 10 July 2010] on [[Deutschlandfunk]] (MP3; in German)</ref><ref>[http://www.br-online.de/bayern1/mittags-in-mainfranken/regionalnews-frankenmagazin-stauffenberg-ID1279545336073.xml German radio broadcast 10 July 2010] on [[Bayerischer Rundfunk|Bayern1]] (written version; in German)</ref> นายพล[[แอริช เฟ็ลล์กีเบิล]] นายทหารที่รังหมาป่าซึ่งอยู่ในแผนลับด้วย โทรศัพท์ถึงเบนด์แลร์บล็อกและบอกผู้ก่อการว่าฮิตเลอร์รอดชีวิตจากการระเบิด ผลคือ การระดมปฏิบัติการวาลคีรีจะไม่มีโอกาสสำเร็จเมื่อนายทหารกำลังรักษาดินแดนทราบว่าฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่ มีความสับสนยิ่งขึ้นอีกเมื่อเครื่องบินของชเตาฟ์เฟนแบร์กลงจอดและเขาโทรศัพท์จากสนามบินและว่าแท้จริงฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว<ref name="Kutrz, Harold 1974, p. 227">Kutrz, Harold, ''July Plot'' in Taylor 1974, p. 227.</ref> ผู้ก่อการที่เบนด์เลอร์บล็อกไม่รู้จะเชื่อใครดี สุดท้ายเมื่อเวลา 16.00 น. ออลบริชท์ออกคำสั่งให้ดำเนินปฏิบัติการวาลคือเรอ ทว่าพลเอก ฟรอมม์ผู้ลังเลโทรศัพท์หาจอมพลวิลเฮล์ม ไคเทิลและได้รับการยืนยันว่าฮิตเลอร์รอดชีวิต ไคเทิลต้องการทราบที่อยู่ของชเตาฟ์เฟนแบร์ก ซึ่งเป็นการบอกฟรอมม์ว่ามีการสืบแผนลับมาถึงสำนักงานใหญ่ของเขาแล้ว และเขาอยู่ในอันตรายใหญ่หลวง ฟรอมม์ตอบไปว่าเขาคิดว่าชเตาฟ์เฟนแบร์กอยู่กับฮิตเลอร์ <ref>Galante, pp. 11–12</ref>