ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอุดมรัตนราษี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 7787170 สร้างโดย 183.88.177.167 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
=={{เพิ่มอ้างอิง==}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
{{infobox royalty
| สีพิเศษ = mediumpurple
| พระอิสริยยศname = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ]] ชั้น 3<br>กรมหมื่นอุดมรัตนราษี
| ภาพ =
| วันประสูติbirth_date = 26 ตุลาคม พ.ศ. 2363
| คำบรรยายภาพ =
| วันdeath_style = สิ้นพระชนม์ = 26 มกราคม พ.ศ. 2409
| พระนาม =
| death_date = 26 มกราคม พ.ศ. 2409
| พระนามเต็ม =
| พระบิดาfather1 = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| ฐานันดรศักดิ์ = พระองค์เจ้าชั้นเอก
| พระมารดาmother1 = [[เจ้าจอมมารดาพึ่ง ในรัชกาลที่ 3|เจ้าจอมมารดาพึ่ง]]
| วันประสูติ = 26 ตุลาคม พ.ศ. 2363
| issue1 = 6 พระองค์
| วันสิ้นพระชนม์ = 26 มกราคม พ.ศ. 2409
| ราชวงศ์dynasty = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| พระอิสริยยศ = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ]] ชั้น 3<br>กรมหมื่นอุดมรัตนราษี
| พระราชบิดา =
| พระบิดา = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| พระราชมารดา =
| พระมารดา = [[เจ้าจอมมารดาพึ่ง ในรัชกาลที่ 3|เจ้าจอมมารดาพึ่ง]]
| มารดา =
| พระชายา =
| ชายา =
| หม่อม =
| พระราชสวามี =
| พระสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
}}
'''พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรรณพ กรมหมื่นอุดมรัตนราษี'''<ref>''ราชสกุลวงศ์'', หน้า 44</ref> (26 ตุลาคม พ.ศ. 2363 - 26 มกราคม พ.ศ. 2409) เป็นพระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติแต่[[เจ้าจอมมารดาพึ่ง ในรัชกาลที่ 3|เจ้าจอมมารดาพึ่ง]] ประสูติเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2363
 
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรรณพ กรมหมื่นอุดมรัตนราษี มีพระนามเดิมว่า'''หม่อมเจ้าอรรณพ''' (บางแห่งสะกดว่า'''อรนพ''') เป็นพระราชโอรสที่[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระราชประสงค์จะให้สืบต่อราชสมบัติ ซึ่งครั้งหนึ่งมีพระราชประสงค์จะมอบสัญลักษณ์แห่งการสืบราชบัลลังก์ คือพระประคำทองคำของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] แต่ก็เกิดการหยิบผิดหรือสับเปลี่ยน นำพระประคำองค์ปลอมไปถวาย ว่ากันว่าเป็นลางให้พระองค์เจ้าอรรณพต้องพลาดจากราชบัลลังก์ไป ซึ่งเรื่องนี้ก็ได้มีบันทึกไว้ดังนี้<ref>ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๕๒ จดหมายเหตุเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต. [พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเรียบเรียงทูลเกล้า ฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พิมพ์พระราชทานในงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร ครบสัปตมวาร ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๒]</ref>
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเรียบเรียงทูลเกล้า ฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พิมพ์พระราชทานในงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร ครบสัปตมวาร ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๒</ref>
 
''"ในวันอังคาร เดือน 11 ขึ้น 6 ค่ำนั้น มีรับสั่งให้ภูษามาลาเชิญหีบพระเครื่องมาถวาย แล้วทรงเลือกพระประคำทองสาย 1 อันเป็นของพระบาทสมเด็จ ฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระประคำทองสายนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จ ฯ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจะสวรรคต จะพระราชทานพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอรรณพ ซึ่งได้เป็นกรมหมื่นอุดมรัตนราศีในรัชกาลที่ 4 แต่บังเอิญเจ้าพนักงานหยิบผิดสาย กรมหมื่นอุดมไม่ได้ไป จึงถือว่าเป็นของสิริมงคลสำหรับแต่ผู้มีบุญญาภินิหาร) กับพระธำมรงค์เพ็ชร์องค์ 1 ให้พระราชโกษา (ชื่อ จัน ในรัชกาลที่ 5 เป็นพระยา เป็นบิดาพระยาอุทัยธรรม (หรุ่น วัชโรทัย)) เชิญตามเสด็จพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าหญิงโสมาวดี ไปพระราชทานสมเด็จเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้า ฯ กรมขุนพินิตประชานาถ พระองค์เจ้าหญิงโสมาวดีเสด็จออกมาทูลกรมหลวงวงศาธิราชสนิท และบอกให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ ซึ่งพร้อมกันอยู่ที่ท้องพระโรงพระที่นั่งอนันตสมาคม ให้ทราบตามกระแสรับสั่ง กรมหลวงวงศาธิราชสนิทและเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ ก็ไปยังพระตำหนักสวนกุหลาบ ด้วยเวลานั้นปิดความไม่ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ฯทรงทราบว่าสมเด็จพระบรมชนกนาถประชวรพระอาการมาก เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ จึงแนะพระองค์เจ้าหญิงโสมาวดีให้ทูลสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ฯ ว่าของทั้ง 2 สิ่งนั้นพระราชทานเป็นของขวัญ โดยทรงยินดีที่ได้ทรงทราบว่าพระอาการ ที่ประชวรค่อยคลายขึ้นเมื่อพระองค์เจ้าหญิงโสมาวดีไปทูล สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอฯ ดำรัสถามว่า ของขวัญเหตุใดจึงพระราชทานพระประคำ พระบาทสมเด็จ ฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกด้วย แต่ก็ไม่มีผู้ใดทูลตอบว่ากระไร เมื่อถวายสิ่งของแล้วต่างก็กลับมา"''
 
ในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2394 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น ''กรมหมื่นอุดมรัตนราศี''<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔/๑๒-ตั้งกรมเจ้านาย พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ ๔: ๑๒. ตั้งกรมเจ้านาย]</ref> และในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดให้ใช้คำนำพระนามว่า''พระเจ้าบรมวงษ์เธอ''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=28|issue= ก|pages=154-155|title=พระบรมราชโองการ ประกาศ คำนำพระนามพระบรมวงษานุวงษ์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/A/154.PDF|date=30 กรกฎาคม ร.ศ. 130|accessdate = 18 สิงหาคม พ.ศ. 2561 |language=ไทย}}</ref>
พระองค์ได้ทรงสร้างวัดแห่งหนึ่งขึ้น แต่พระองค์สิ้นพระชนม์ก่อนที่วัดจะแล้วเสร็จ [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงได้มีพระราชดำริให้สร้างต่อ พร้อมทั้งพระราชทานเงินช่วยถึง 1,000 ชั่ง เมื่อวัดแล้วเสร็จพระองค์จึงพระราชทานชื่อวัดว่า "[[วัดมหรรณพารามวรวิหาร]]"
 
พระองค์ได้ทรงสร้างวัดแห่งหนึ่งขึ้น แต่พระองค์สิ้นพระชนม์ก่อนที่วัดจะแล้วเสร็จ [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงได้มีพระราชดำริให้สร้างต่อ พร้อมทั้งพระราชทานเงินช่วยถึง 1,000 ชั่ง เมื่อวัดแล้วเสร็จพระองค์จึงพระราชทานชื่อวัดว่า "[[วัดมหรรณพารามวรวิหาร]]"
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรรณพ กรมหมื่นอุดมรัตนราษี สิ้นพระชนม์ด้วยพระโรคเป็นง่อย เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2409 ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล'''อรรณพ ณ อยุธยา''' แะมีพระโอรสองค์หนึ่งเป็นพิการ คือ หม่อมเจ้าพรประสิทธิ อรรณพ
 
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอุดมรัตนราษี สิ้นพระชนม์ด้วยพระโรคเป็นง่อย เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2409 ทรงเป็นต้นราชสกุล'''อรนพ'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=33|issue= 0 ง|pages=167|title=ประกาศพระราชทานนามสกุล ครั้งที่ ๔๖|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2459/D/166.PDF|date=23 เมษายน 2459|accessdate = 18 สิงหาคม 2561 |language=ไทย}}</ref>
==อ้างอิง==
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ ๔|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=ทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา|date=พ.ศ. 2477|accessdate=15 สิงหาคม พ.ศ. 2561}} [ที่ระลึก ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงธรรมสารเนติ (อบ บุนนาค)]
*{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=บรรเจิด อินทุจันทร์ยง|ชื่อหนังสือ=ราชสกุลพระบรมราชวงศ์จักรี|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=องค์การค้าของคุรุสภา|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539|ISBN=974-005-650-8|หน้า=|จำนวนหน้า=}}
*{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร|ชื่อหนังสือ=พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549|ISBN=974-221-818-8|หน้า=71, 141|จำนวนหน้า=360}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = https://ia800501.us.archive.org/25/items/ThaiKings/Thai%20Kings.pdf| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554 | ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296| หน้า = 44-45}}
{{จบอ้างอิง}}
 
 
{{ต้นราชสกุลในรัชกาลที่ 3}}
เส้น 41 ⟶ 38:
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์}}
{{พระราชโอรสราชวงศ์จักรี}}
 
{{เรียงลำดับ|อรรณพอุดมรัตน}}
{{เกิดปี|2363}}{{ตายปี|2409}}
{{อายุขัย|2363|2409}}
[[หมวดหมู่:พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น 3]]
[[หมวดหมู่:พระองค์เจ้า]]