ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮอสท์-เว็สเซิล-ลีท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เอสอา" → "เอ็สอา" +แทนที่ "เนือร์นแบร์ก" → "เนือร์นแบร์ค" ด้วยสจห.
บรรทัด 31:
| image2 = Bundesarchiv Bild 147-0503, Nürnberg, Horst Wessel mit SA-Sturm.jpg
| width2 = 200
| caption2 = ฮอสท์ เวสเซิล (คนหน้าสุด) เดินนำแถวหน่วย[[ชตูร์มับไทลุง]] (หน่วยเอสอาเอ็สอา) ของตนเอง ที่เมือง[[เนือร์นแบร์กเนือร์นแบร์ค]] ในปี [[ค.ศ. 1929]]
}}
 
'''ฮอสท์-เวสเซิล-ลีด''' ({{lang-de|Horst-Wessel-Lied}}; ''เพลงฮอสท์ เวสเซิล'') หรือที่รู้จักจากคำขึ้นต้น '''ดีฟาเนอฮอค''' ({{lang-de|Die Fahne hoch}}; ''ธงอยู่สูงเด่น'') เป็นเพลงประจำ[[พรรคนาซี]]ตั้งแต่ ค.ศ. 1930 - ค.ศ. 1945 และใช้เป็น[[เพลงชาติ]]ร่วมของ[[นาซีเยอรมนี]] (เพลง[[ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน]]บทแรก) ตั้งแต่ ค.ศ. 1933 - ค.ศ. 1945<ref>Geisler, [http://books.google.com/books?id=CLVaSxt-sV0C&pg=PA71 p.71.]</ref>
 
เนื้อร้องของเพลงนี้ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1929 ที่เขตฟรีดริชซ์ไฮน์ [[กรุงเบอร์ลิน]] [[ประเทศเยอรมนี]] โดย[[ฮอสท์ เวสเซิล]] ซึ่งเป็นนักเคลื่อนไหว[[ลัทธินาซี]]และเป็นผู้บัญชาการกองพลวายุ ''[[ชตูร์มับไทลุง]]'' (Sturmabteilung) หรือ ''เอสอาเอ็สอา'' (SA) ระดับท้องถิ่น ต่อมาเมื่อเวสเซิลถูกอัลเบรชต์ เฮอเลอร์ (Albrecht Höhler) สมาชิก[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี]]คนหนึ่งสังหารอย่างอุกอาจใน ค.ศ. 1930 [[โจเซฟ เกิบเบิลส์]]ได้ดำเนินการทำให้เขาเป็นมรณสักขีแห่งขบวนการพรรคนาซี เพลงนี้จึงได้มีการบรรเลงครั้งแรกในงานศพของเวสเซิลเอง และหลังจากนั้นก็ได้ถูกนำใช้อย่างเข้มข้นในการดำเนินกิจกรรมของพรรค เช่น การขับร้องเพลงนี้ของหน่วยเอสเอระหว่างการเดินแถวตามท้องถนน เป็นต้น
 
เมื่อพรรคนาซีเถลิงอำนาจในปี [[ค.ศ. 1933]] เพลงฮอสท์-เวสเซิล-ลีด ก็ได้รับการยอมรับให้เป็นสัญลักษณ์ของชาติอย่างหนึ่งตามกฎหมายซึ่งตราขึ้นเมื่อวันที่ [[19 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1933]] ในปีถัดมาจึงมีการออกข้อบังคับให้มีการชูแขนขวาทำ ''[[การสดุดีฮิตเลอร์]]'' เมื่อมีการขับร้องเพลงนี้ในบทที่ 1 และบทที่ 4 (ซึ่งมีใจความอย่างเดียวกัน) ในตอนท้ายของภาพยนตร์เรื่อง ''[[ทรีอุมฟ์เดสวิลเลนส์|ทรีอุมฟ์เดสวิลเลนส์]]'' หรือ ''ชัยชนะแห่งเจตจำนง'' ของ[[เลนี รีเฟนสทาล]] (ภาพยนตร์โฆษณาชวนเชื่อของพรรคนาซี) ซึ่งเผยแพร่ในปี ค.ศ. 1935 จะพบว่าบรรดาผู้นำของพรรคนาซีมีการร่วมร้องเพลงฮอสท์-เวสเซิล-ลีด อยู่ด้วย
บรรทัด 43:
 
== เนื้อร้อง ==
บทร้องฮอสท์-เวสเซิล-ลีด ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ของพรรคนาซีในกรุงเบอร์ลินชื่อ ''แดร์อันกริฟฟ์'' (Der Angriff) เมื่อเดือนกันยายน [[ค.ศ. 1929]] โดยลงนามผู้แต่งเพลงว่า ''พลเอสอานิรนามเอ็สอานิรนาม'' (Der Unbekannte SA-Mann) มีใจความดังนี้
 
{|
บรรทัด 71:
|
:ธงอยู่สูงเด่น! แถวชิดติดกันอย่างแน่นหนา!
:เอสเอ็สอาเดินหน้า ฝีเท้าเยือกเย็นมั่นคง
:สหายของเรา ถูกแนวร่วมแดงและพวกศัตรูยิง
:วิญญาณพวกเขา ร่วมเดินเคียงข้างในแถว
บรรทัด 86:
 
:ธงอยู่สูงเด่น! แถวชิดติดกันอย่างแน่นหนา!
:เอสเอ็สอาเดินหน้า ฝีเท้าเยือกเย็นมั่นคง
:สหายของเรา ถูกแนวร่วมแดงและพวกศัตรูยิง
:วิญญาณพวกเขา ร่วมเดินเคียงข้างในแถว
|}
 
คำว่า "แนวร่วมแดง" ({{lang-de|"Rotfront"}}) ในที่นี้อ้างอิงถึงหน่วย[[ร็อตฟรอนท์คัมป์แฟร์บุนด์]] ({{lang-de|Rotfrontkämpferbund}}) หรือ "สันนิบาตนักรบแนวร่วมแดง" ซึ่งเป็นกำลังกึ่งทหารของ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเยอรมนี]] (KPD) เป็นเรื่องปกติที่หน่วย[[ชตูร์มับไทลุง]] หรือเอสอาเอ็สอา ของพรรคนาซีกับสันนิบาตนักรบแนวร่วมแดงจะเผชิญหน้าและสู้รบกันตามท้องถนนในเยอรมนีเวลานั้น ก่อนที่จะขยายวงกว้างเป็นการรบเต็มรูปแบบภายหลังปี [[ค.ศ. 1930]] ส่วนคำว่า "พวกปฏิกิริยา" ({{lang-de|"Reaktion"}}) หมายถึงพรรคการเมืองแนวอนุรักษนิยมและรัฐบาลเยอรมันแนวเสรีนิยมประชาธิไตยในยุค[[สาธารณรัฐไวมาร์]] ซึ่งได้พยายามกดดันหน่วยเอสเอ็สอาหลายครั้งแต่ล้มเหลว คำว่า "Die Knechtschaft" ซึ่งในที่นี้แปลว่า "ความเป็นทาส" หมายถึงภาระผูกพันของเยอรมนีตาม[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] [[ค.ศ. 1919]] ซึ่งพรรคนาซีมองว่าทำให้เยอรมนีอยู่ในภาวะ "ความเป็นทาส"
 
บทร้องบางส่วนได้มีการแก้ไขหลังการตายของฮอสท์ เวสเซิล ดังนี้
บรรทัด 99:
| '''บทที่ 1 วรรคที่ 2'''
|SA marschiert mit <u>mutig</u> festem Schritt
|&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เอสเอ็สอาเดินหน้า ฝีเท้า<u>หนักแน่น</u>มั่นคง
|-
| &nbsp;
|SA marschiert mit <u>ruhig</u> festem Schritt
|&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เอสเอ็สอาเดินหน้า ฝีเท้า<u>เยือกเย็น</u>มั่นคง
|-
| &nbsp;
บรรทัด 132:
การแก้ไขคำว่า "Barrikaden" (แปลว่า ด่านกีดขวาง) สะท้อนให้เห็นถึงความปรารถนาของพรรคนาซีในช่วงปี ค.ศ. 1930 - 1933 ที่ต้องการแสดงว่าเป็นพรรคการเมืองภายใต้รัฐธรรมนูญที่ต้องการอำนาจรัฐโดยชอบด้วยกฎหมายมากกว่าเป็นพรรคปฏิวัติ
 
หลังมรณกรรมของเวสเซิล ได้มีการเพิ่มเติมเนื้อร้องบทใหม่ซึ่งประพันธ์ขึ้นเป็นเกียรติแก่เวสเซิล เนื้อร้องเหล่านี้เป็นที่นิยมร้องโดยหน่วยเอสอาเอ็สอา แต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อร้องฉบับทางการซึ่งใช้โดยพรรคหรือรัฐ
 
{|
บรรทัด 150:
:ฮอสท์ เวสเซิลสิ้น อีกนับพันจักเกิดก่อใหม่
:เพลงธงดังกังวาน นำทางกองทัพสีน้ำตาลไป
:เอสเอ็สอาพร้อมใจ ติดตามแนวทางของท่าน
 
:ธงลดต่ำลง ต่อหน้าคนตายผู้ยังมีลมหายใจ
:เอสอาปฏิญาณเอ็สอาปฏิญาณ มือนั้นกุมหมัดไว้แน่น
:วันนั้นจักต้องมาถึง เพื่อล้างแค้น ไร้คำว่าอภัย
:เมื่อคำว่า "ไฮล์" และ "ซีก" ([[ซีก ไฮล์]] - ชัยชนะจงเจริญ) ดังทั่วปิตุภูมิ