ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เอ็มเอส ไททานิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Túrelio (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมหลักฐานใหม่ทีพึ่งค้นพบในไม่กี่ปีมานี้ ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้แล้วว่าเป็นจริง เรื่องสาเหตุการจม ไม่ได้เป็นเพราะภูเขานํ้าแข็งเพียงอย่างเดียว หากแต่ว่าเกิดจากเหตุการณ์ไฟไหม้ ที่ผู้ผลิตต้องการจะปกปิด
บรรทัด 9:
| Ship owner = [[ไฟล์:White Star flaga.svg|25px]] บริษัท[[ไวท์สตาร์ไลน์]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship operator =
| Ship registry = [[ลิเวอร์พูล]]
| Ship registry = [[ไฟล์:Government Ensign of the United Kingdom.svg|25px]]<ref>{{cite book |last=Wilson |first=Timothy |title=Flags at Sea |publisher=Her Majesty's Stationery Office |location=London |date=1986 |page=34 |chapter=Flags of British Ships other than the Royal Navy |isbn=0-11-290389-4}}</ref> [[ลิเวอร์พูล]] [[สหราชอาณาจักร]]
| Ship route = [[เบลฟัสต์]] - [[ควีนส์ทาวน์]] (ท่าเรือโคบห์) - [[แชร์บรูก]] - [[เซาแธมป์ตัน]] - [[นิวยอร์ก]]
| Ship ordered = 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1908<ref name="Maritimequest"/>
บรรทัด 23:
| Ship maiden voyage = [[10 เมษายน]] [[ค.ศ. 1912]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship in service =
| Ship registry = [[ลิเวอร์พูล]]
| Ship out of service =
| Ship identification = สัญญาณเรียกขาน "MGY"<ref name="Great"/> <br /> ตัวเลขทางราชการของอังกฤษ : 131428
| Ship fate = เกิดเหตุเพลิงไม้ในส่วนบล็อคเก็บถ่านหินที่ 5 และ 6 ส่งผลให้ ผนังกั้นนํ้าของตัวเรืออ่อนแอ และมีการบิดตัว จนไม่สามารถกันนแรงดันนํ้าได้ จนกระทั่งชนภูเขาน้ำแข็ง วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 เวลา 23.40 น. (เวลาเรือ) ในการเดินเรือเที่ยวแรก และอัปปาง 2 ชั่วโมง 40 นาทีให้หลัง<ref name="Maritimequest"/>
| Ship notes =
}}
เส้น 62 ⟶ 61:
ผู้โดยสารบนเรือมีบรรดาบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลก เช่นเดียวกับผู้อพยพกว่าพันคนจากบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ สแกนดิเนเวีย เป็นต้น ซึ่งกำลังแสวงหาชีวิตใหม่ในทวีปอเมริกาเหนือ เรือได้รับการออกแบบให้มีความสะดวกสบายและความหรูหราที่สุด โดยบนเรือมียิมเนเซียม สระว่ายน้ำ ห้องสมุด ภัตตาคารชั้นสูงและห้องจำนวนมาก นอกจากนี้ ยังมีโทรเลขไร้สายทรงพลังซึ่งจัดเตรียมไว้เพื่อความสะดวกของผู้โดยสาร เช่นเดียวกับการใช้เชิงปฏิบัติการ แต่แม้ ''ไททานิก'' จะมีคุณลักษณะความปลอดภัยที่ก้าวหน้า เช่น ห้องกันน้ำและประตูกันน้ำที่ทำงานด้วยรีโมต ก็ยังขาดเรือชูชีพที่เพียงพอสำหรับบรรทุกผู้โดยสารทุกคนบนเรือ เนื่องจากระเบียบความปลอดภัยในทะเลที่ล้าสมัย จึงมีเรือชูชีพเพียงพอสำหรับผู้โดยสาร 1,178 คนเท่านั้น เกินครึ่งของผู้ที่เดินทางไปกับเรือในเที่ยวแรกเล็กน้อย และหนึ่งในสามของความจุผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมดเท่านั้น
 
ช่วงก่อนหน้าที่ไททานิคออกเดินทาง ได้เกิดเตุไฟไหม้บริเวณส่วนเก็บถ่านหินที่ บล็อค 5 และ 6 และไฟยังไหมต่อเนื่องตลอดการเดินทาง ความเสียหายนั้นส่งผลให้ผนังกั้นนํ้าชั้นที่ 4 ก่อนถึงห้องเครื่อง และ ส่วนที่เก็บถ่านหินนั้นร้อนมาก อุณหภูมิไม่ตํ่ากว่า 1500 ฟาเรนไฮต์ จนผนังกั้นนํ้าร้อนจนแดง และตัวเหล็กของผนังกั้นนํ้านั้นบิด งอ ลดการทนทานนํ้าไปกว่า 75%
หลังเดินทางออกจากเซาท์แทมป์ตันเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1912 ''ไททานิก'' ถูกเรียกที่เชอร์บูร์ก (Cherbourg) ในฝรั่งเศส และควีนส์ทาวน์ (ปัจจุบันคือ โคฟ, Cobh) ในไอร์แลนด์ ก่อนมุ่งหน้าไปทางตะวันตกมุ่งสู่นิวยอร์ก วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 ห่างจากเซาท์แทมป์ตันไปทางใต้ราว 600 กิโลเมตร ''ไททานิก'' ชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็งเมื่อเวลา 11.40 น. (ตามเวลาเรือ GMT-3) การชนแฉลบทำให้แผ่นลำเรือ''ไททานิก'' งอเข้าในตัวเรือหลายจุดบนฝั่งกราบขวา และเปิดห้องกันน้ำห้าจากสิบหกห้องสู่ทะเล อีกสองชั่วโมง สามสิบนาทีต่อมา น้ำค่อยๆ ไหลเข้ามาในเรือและจมลง ผู้โดยสารและสมาชิกลูกเรือบางส่วนถูกอพยพในเรือชูชีพ โดยมีเรือชูชีพจำนวนมากถูกปล่อยลงน้ำไปทั้งที่ยังบรรทุกไม่เต็ม ชายจำนวนมาก กว่า 90% ของชายในที่นั่งชั้นสอง ถูกทิ้งอยู่บนเรือเพราะระเบียบ "ผู้หญิงและเด็กก่อน" ตามด้วยเจ้าหน้าที่ซึ่งบรรทุกเรือชูชีพนั้น ก่อน 2.20 น. เล็กน้อย ''ไททานิก'' แตกและจมลงโดยยังมีอีกกว่าพันคนอยู่บนเรือ คนที่อยู่ในน้ำเสียชีวิตภายในไม่กี่นาทีจากภาวะตัวเย็นเกิน (hypothermia) อันเกิดจากการจุ่มในมหาสมุทรที่เย็นจนเป็นน้ำแข็ง ผู้รอดชีวิต 710 คนถูกนำขึ้นเรืออาร์เอ็มเอส ''คาร์พาเธีย'' (RMS ''Carpathia'') อีกไม่กี่ชั่วโมงให้หลัง
 
หลังเดินทางออกจากเซาท์แทมป์ตันเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1912 ''ไททานิก'' ถูกเรียกที่เชอร์บูร์ก (Cherbourg) ในฝรั่งเศส และควีนส์ทาวน์ (ปัจจุบันคือ โคฟ, Cobh) ในไอร์แลนด์ ก่อนมุ่งหน้าไปทางตะวันตกมุ่งสู่นิวยอร์ก วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 ห่างจากเซาท์แทมป์ตันไปทางใต้ราว 600 กิโลเมตร ''ไททานิก'' ชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็งเมื่อเวลา 11.40 น. (ตามเวลาเรือ GMT-3) การชนแฉลบทำให้แผ่นลำเรือ''ไททานิก'' งอเกิดความเสียหาย นํ้าได้ทะลักเข้าไปในตัวเรือหลายจุดบนฝั่งกราบขวา และแล้วได้เปิดห้องกันน้ำห้ากั้นนํ้าทั้งหมด แต่ทว่า ผนังกั้นนํ้าชั้นที่ 4 ได้รับความเสียหายจากเพลิงไหม้จากสิบหกห้องสู่ทะเลเก็บถ่านหิน ทำให้ผนังกั้นนํ้าชั้นที่ 4 ไม่สามารถทนทานแนงดันนนํ้าได้ จึงส่งผลให้นํ้าทะลักเข้ามาภายในตัวเรือได้ อีกสองชั่วโมง สามสิบนาทีต่อมา น้ำค่อยๆ ไหลเข้ามาในเรือและจมลง ผู้โดยสารและสมาชิกลูกเรือบางส่วนถูกอพยพในเรือชูชีพ โดยมีเรือชูชีพจำนวนมากถูกปล่อยลงน้ำไปทั้งที่ยังบรรทุกไม่เต็ม ชายจำนวนมาก กว่า 90% ของชายในที่นั่งชั้นสอง ถูกทิ้งอยู่บนเรือเพราะระเบียบ "ผู้หญิงและเด็กก่อน" ตามด้วยเจ้าหน้าที่ซึ่งบรรทุกเรือชูชีพนั้น ก่อน 2.20 น. เล็กน้อย ''ไททานิก'' แตกและจมลงโดยยังมีอีกกว่าพันคนอยู่บนเรือ คนที่อยู่ในน้ำเสียชีวิตภายในไม่กี่นาทีจากภาวะตัวเย็นเกิน (hypothermia) อันเกิดจากการจุ่มในมหาสมุทรที่เย็นจนเป็นน้ำแข็ง ผู้รอดชีวิต 710 คนถูกนำขึ้นเรืออาร์เอ็มเอส ''คาร์พาเธีย'' (RMS ''Carpathia'') อีกไม่กี่ชั่วโมงให้หลัง
 
ภัยพิบัติดังกล่าวทำให้ทั่วโลกตกตะลึงและโกรธจากการสูญเสียชีวิตอย่างใหญ่หลวง และความล้มเหลวของกฎระเบียบและปฏิบัติการซึ่งนำไปสู่ภัยพิบัตินั้น การไต่สวนสาธารณะในอังกฤษและสหรัฐอเมริกานำมาซึ่งพัฒนาการหลักในความปลอดภัยในทะเล หนึ่งในมรดกสำคัญที่สุด คือ การจัดตั้งอนุสัญญาความปลอดภัยของชีวิตในทะเลระหว่างประเทศ (SOLAS) ใน ค.ศ. 1914 ซึ่งยังควบคุมความปลอดภัยในทะเลตราบจนทุกวันนี้ ผู้รอดชีวิตหลายคนสูญเสียเงินและทรัพย์สินทั้งหมดและถูกทิ้งให้อดอยากแร้นแค้น หลายครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งของสมาชิกลูกเรือจากเซาท์แทมป์ตัน สูญเสียเสาหลักของครอบครัวไป พวกเขาได้รับความช่วยเหลือจากความเห็นใจสาธารณะและการบริจาคของมูลนิธิที่หลั่งไหลเข้ามา
เส้น 242 ⟶ 243:
เนื่องจาก''ไททานิก''เป็นเรือขนาดใหญ่ จุผู้โดยสารได้มาก ดังนั้นปริมาณการใช้บริการส่งวิทยุโทรเลขก็ต้องมากเป็นธรรมดา พนักงานรับส่งวิทยุโทรเลขจึงต้องทำงานค่อนข้างหนักมาก เมื่อว่างเว้นจากงานบริการผู้โดยสารแล้วจึงค่อยมาสะสางเรื่องการติดต่อเพื่อการเดินเรือ อีกทั้งในสมัยนั้นยังไม่มีขั้นตอนการนำส่งข้อความแก่กัปตันเรืออย่างเป็นระบบ ดังนั้นจึงไม่มีหลักประกันแต่อย่างใดว่าข่าวสารจะถึงมือกัปตันหรือไม่ หรือถึงช้าเร็วเพียงใด<ref name="Wireless"/>
 
เช้าวันที่ 14 เมษายน กัปตันสมิทสั่งเดินเครื่องเรือ''ไททานิก''เต็มที่ สำหรับสาเหตุของการเร่งเครื่องครั้งนี้มีผู้อยู่เนื่องจาก การเกิดเหตุเพลิงไหม้ในเหตุการณ์เล่าว่าเป็นไปตามความต้องการของอิสเมย์ ผู้จัดการไวต์สตาร์บล็อคเก็บถ่านหินที่ 5 และ 6 วิธีการที่ต้องการทำเวลาเพื่อจะดับไฟจากถ่านหินคือต้องใช้ถ่านหินที่มีไฟลุกอยู่ตักเข้าห้องเครื่องให้หมด หากทว่าถ่านหินที่เก็บไว้นั้นจะไม่เพียงพอที่จะพาเรือไปถึงนครยัง นิวยอร์กก่อนกำหนดและลบสถิติ สหรัฐอเมริกาได้หากใช้ความเร็วตํ่า เพื่อไม่ให้เสียชื่อเสียงนั้น เหตุการณ์ที่เรือ''โอลิมปิก''ซึ่งเป็นเรือพี่ในชุดอาจจะหลีกเลี่ยงได้คือการชนภูเขานํ้าแข็ง 3แต่ ใบเถานี้เคยทำไว้การใช้ถ่านหินหมด เป็นไปได้มากกว่า ''ไททานิก''จึงแล่นด้วยความเร็วถึง 22.5 [[นอต]] ซึ่งเกือบถึงความเร็วสูงสุดของเรือ (23 นอต) <ref name="Atlantic"/>
 
และในวันเดียวกันนี้เอง ''ไททานิก''ได้รับวิทยุโทรเลขเตือนเรื่องภูเขาน้ำแข็งในเส้นทางเดินเรือถึง 7 ครั้ง (เอกสารบางแหล่งระบุว่า 6 ครั้ง) จากเรือเดินสมุทรในสายแอตแลนติกเหนือ อาทิ จากเรือ อาร์เอ็มเอส ''แคโรเนีย'' (RMS ''Caronia''), อาร์เอ็มเอส ''บอลติก'', เอสเอส ''อเมริกา'' (SS ''Amerika'') <ref>"Titanic & Her Sisters Olympic & Britannic" by McCluskie/Sharpe/Marriott, p. 490, ISBN 1-57145-175-7</ref>, เอสเอส ''แคลิฟอร์เนียน'' (SS ''Californian'') และ เอสเอส ''เมซาบา'' (SS ''Mesaba'') ฯลฯ และที่ร้ายก็คือ เมื่อเวลา 21.45 น. ''ไททานิก''ได้รับวิทยุโทรเลขเตือนว่ามีภูเขาน้ำแข็งและน้ำแข็งกระจัดกระจายอยู่ในเส้นทางข้างหน้า แต่พนักงานวิทยุโทรเลขไม่ได้ส่งข้อความนั้นให้แก่กัปตันหรือเจ้าหน้าที่เรือคนใดเลย ทั้งนี้ เพราะมัวยุ่งอยู่กับการส่งวิทยุโทรเลขให้แก่ผู้โดยสาร