ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เล่าจื๊อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:44CD:96FB:6C06:B17F:F002:AF80 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
คำอธิบายอย่างย่อ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Lao Tzu - Project Gutenberg eText 15250.jpg|thumb|250px|เล่าจื๊อ, จาก ''ไมท์แอนด์ลีเจนส์ออฟไชน่า'', [[ค.ศ. 1922]] โดย อี.ที.ซี. เวอร์เนอร์]]
 
'''เล่าจื๊อ''' ({{Zh-all|老子|p=Lǎo zǐ}}; {{lang-en|Lao Zi หรือ Lao Tzu}}) [[นักปรัชญา]]ชาวจีนที่มีชื่อเสียงที่สุดท่านหนึ่ง เชื่อกันว่าอาศัยอยู่ในช่วง 500551 ปี [[ก่อนคริสต์ศักราช]] ในช่วงของสงครามปรัชญา และสงครามการเมือง[[ยุคชุนชิว]] เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผนในทางเต๋า นั่นคือ "[[เต้าเต๋อจิง|เต๋าเต็กเก็ง]]" (Tao Te Ching) (道德經) ซึ่งเป็นผลงานทาง[[ลัทธิเต๋า]]ที่ยังคงตกทอดมาถึงยุคปัจจุบันนี้ เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์ที่เชี่ยวชาญทาง[[เต๋า]] [[ประวัติศาสตร์]] [[ภูมิศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์]]
 
'''คำสอนบางบทที่น่าสนใจ'''
 
บทที่ 3
 
มูลเหตุแห่งทุกข์ อันได้แก่ การแก่งแย่ง การลักขโมย การยึดถือตัวตน ความอยาก
 
มื่อขจัดมูลเหตุแห่งทุกข์ดังกล่าวได้
 
ดวงใจประชาก็จะบริสุทธิ์
 
เมื่อมีผู้ปกครองที่เป็นปราชญ์ จะหาหนทางทำให้ประชาชน อิ่มท้อง มีความพอดี ลดความอยากที่ฟุ่มเฟือย ส่งเสริมสุขภาพกาย ความคิด ความปรารถนา และจิตใจของชาวประชา ให้จิตใจว่างจากความมูลเหตุแห่งทุกข์ ทำจิตใจให้สะอาดและบริสุทธิ์
 
คนฉ้อฉลก็จะกลัวเกรงและละอาย มิกล้าทุจริต
 
นี่คือการปกครองโดยมิต้องปกครอง เมื่อนักปกครองที่เป็นปราชญ์ดำเนินตามนี้แล้ว  การปกครองก็จะดำเนินไปอย่างมีระเบียบ เรียกว่า การปกครองโดยมิต้องมีการปกครอง
 
== ประวัติ ==