15,994
การแก้ไข
{{infobox royalty
| image = [[ไฟล์:สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก.jpg|220px]]
| birth_place = [[บ้านสะแกกรัง]] [[เมืองอุทัยธานี]]
| death_place =
| death_style = สิ้นพระชนม์
| death_date = พ.ศ. 2312
▲| พระราชบิดา = [[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]]
▲| พระชายา = [[พระอัครชายา (หยก)]]<br>[[เจ้าจอมมารดากู่]]<br>[[เจ้าจอมมารดามา]]
▲| พระโอรส/ธิดา = 7 พระองค์
▲| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
}}
'''สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก''' พระนามเดิม '''ทองดี''' เป็นสมเด็จพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษแห่ง[[ราชวงศ์จักรี|พระบรมราชจักรีวงศ์]] เนื่องด้วยทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชชนกใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประสูติที่[[บ้านสะแกกรัง]] [[เมืองอุทัยธานี]] ทรงเป็นบุตรคนโตของ[[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]] ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย (บ้างก็ว่า กรมนา) ในรัชกาล[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]] ซึ่งสืบเชื้อสายมาจาก[[เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)]] เสนาบดีพระคลังในรัชกาล[[สมเด็จพระเพทราชา]] ผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นออกพระวิสุทธสุนทร และได้เดินทางไปถวายพระราชสาส์นของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ยังราชสำนักของ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส]] เมื่อ
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ทรงรับราชการในกรมมหาดไทย รับบรรดาศักดิ์เป็นที่ '''หลวงพินิจอักษร''' และ '''พระอักษรสุนทรศาสตร์''' ในตำแหน่งเสมียนตรากรมมหาดไทย มีหน้าที่ร่างพระราชสาส์นโต้ตอบกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ และเก็บรักษา[[พระราชลัญจกร]]
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีพระโอรส-ธิดา กับ[[พระอัครชายา (หยก)]] 5 พระองค์ คือ<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = กรมศิลปากร สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = http://library.siamtech.ac.th/pdf/king22.pdf
| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554| ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296| หน้า = 1-4}}</ref>
# '''กุ''' เฉลิมพระนามป็น'''[[พระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี]]''' ในรัชกาลที่ 5
▲สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีพระโอรส-ธิดา อีก 2 พระองค์ คือ
# '''ลา''' ได้รับสถาปนาเป็น'''[[สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงจักรเจษฎา]]''' ในรัชกาลที่ 1
พระน้องนางของพระอัครชายา (ดาวเรืองหรือหยก) มีชื่อว่า (กู่) ตามเอกสารเดิมที่อยู่ในจังหวัดอุทัยธานี
== สวรรคต ==
ช่วง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]]ในปี
พระมหาสังข์องค์นี้เป็นสังข์เวียนซ้าย ความยาว 20 เซนติเมตร ริ้วเวียนรอบหัวสังข์และปากสังข์เลี่ยมทองคำสลักลายฝังพลอย ข้างในท้องสังข์มีดอกมะเขือฝังนพเก้า ร่องปลายปากสังข์จารึกอักขระ อุมีมังสีทองคำลงยารองรับ ถือเป็นพระมหาสังข์คู่บ้านคู่เมือง ใช้หลั่งน้ำพระราชทานแก่ราชสกุล ในงานสมรสพระราชทาน กราบถวายบังคมลาไปปฏิบัติราชการต่างประเทศ ในรัชกาลต่อมาจนถึงรัชกาลปัจจุบัน
|