ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดภูเก็ต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Karan intakool (คุย | ส่วนร่วม)
→‎สถานที่สำคัญ: เพิ่มเติม
บรรทัด 413:
* [[ศาลเจ้าแสงธรรม]] หรืออ๊ามเตงก่องต๋อง ศาลเจ้าเก่าแก่แห่งหนึ่งของภูเก็ตมีสถาปัตยกรรมที่งดงามมาก เป็นศาลเจ้าประจำตระกูลตัน
* [[ศาลเจ้าบ้านท่าเรือ]] หรือฮกเล่งเก้ง เป็นที่ประดิษฐานองค์พระโป๊เซ้งไต่เต่ องค์พระประธานของศาลเจ้า
* [[ศาลเจ้าจุ้ยตุ่ย]] หรือ จุ้ยตุ่ยเต้าโบ้เก้ง หรือ คนภูเก็ตเรียกว่า '''อ๊ามจุ๊ยตุ๋ย''' (เป็นศาลเจ้าที่มีคนร่วมงานประเพณีถือศิลกินผักมากที่สุดในจังหวัด)
 
(เป็นศาลเจ้าที่มีคนร่วมงานประเพณีถือศิลกินผักมากที่สุดในจังหวัด)
* [[วัดพระทอง]]
*[[จุดชมวิวกะรน]] หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่าจุดชมวิวสามอ่าว เป็นจุดชมวิวบนเนินเขาซึ่งชื่อเล่นนั้นก็มาจากการที่สามารถมองเห็นอ่าว เห็นชายหาดได้ถึง 3 หาดจากจุดชมวิวนี้ทั้งหาดกะตะน้อย กะตะ และกะรน นอกจากนั้นยังสามารถมองเห็นน้ำทะเลไล่โทนสีอีกด้วย
*[[จุดชมวิวเขารัง]] เขารังนั้นเป็นภูเขาเตี้ยๆ ภายในตัวจังหวัด ในอดีตนั้นเรียกว่าเขาหลัง เพราะเปรียบเสมือนหลังบ้านของจังหวัดภูเก็ต ด้านบนนั้นมีสวนสาธารณะให้ประชาชนได้ไปผ่อนคลาย ซึ่งจากด้านบนจะมีจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นวิวตัวเมืองภูเก็ตและทะเลภูเก็ตได้ไกลๆ สวยงามมากทั้งในเวลากลางวันและกลางคืนเลย
* [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง]] มีเทวประธานคือพระวิษณุ จดหมายเหตุท้าวเทพกระษัตรี หง่อก่ากี่ ชาวเล
*[[ภูเก็ตแฟนตาซี]] ภูเก็ตแฟนตาซี ธีมปาร์ควัฒนธรรมไทยแห่งแรกของโลก ซึ่งมีหลายจุดน่าสนใจทั้งภูผาพิศวง จำลองเขาตะปูของอ่าวพังงา หมู่บ้านพรรษา ที่มีสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์หลายรูปแบบ มีการจัดแสดงชุดมหัศจรรย์กมลาที่เป็นการแสดงที่ใช้งบลงทุนทั้งในโชว์และในโรงละครวังไอยราสูงถึง 1,500 ล้านบาท
* [[ย่านเมืองเก่าภูเก็ต]] ([[สถาปัตยกรรมจีน-โปรตุเกส]]) ถนนถลาง ถนนดีบุก ถนนพังงา ถนนกระบี่ ถนนภูเก็ต ถนนรัษฎา ถนนระนอง ถนนเยาวราช ถนนเทพกระษัตรี ถนนสตูล ซอยรมณีย์ และตรอกสุ่นอุทิศ
* [[พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต]] เดิมใช้ชื่อว่าพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่กะทู้ ใน อังมอเหลามีเหมืองจำลองเหมืองแล่น เหมืองรู เหมืองหาบ เหมืองฉีด เหมือง เรือขุด; โลหะดีบุก เพชรภูเก็จ เพชรพังงา แทนทาลัม วิถีชีวิตชาวกะทู้; ภายนอกมีรางเหมืองแร่ (เหมืองสูบ-ฉีด) ขนาดใหญ่ไว้สาธิตการได้แร่ดีบุกของนายหัวเหมือง
*[[พระพุทธมิ่งมงคลเอกนาคคีรี|พระพุทธมิ่งมลคลเอกนาคคีรี]] พระพุทธมิ่งมงคลเอกนาคคีรีหรือพระใหญ่แห่งเมืองภูเก็ต พระใหญ่ประดิษฐานอยู่บนยอดเขานาคเกิด เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่ สามารถสังเกตุเห็นได้จากหลายจุดในภูเก็ต ผิวของพระพุทธรูปนั้นประดับด้วยหินอ่อนหยกขาวจากพม่า เป็นงานประณีตที่สวยงามมาก
*[[แหลมพรหมเทพ]] แหลมพรหมเทพ แลนด์มาร์กของจังหวัดภูเก็ต เป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกที่ว่ากันว่าสวยที่สุดในประเทศไทย แหลมพรหมเทพมีลักษณะเป็นแหลมโค้งทอดตัวลงสู่ทะเล สามารถเดินลงไปที่ปลายแหลมได้  เมื่อไปถึงตรงปลายแหลมจะสามารถมองเห็นวิวด้านซ้ายเป็นหาดในยะ ส่วนด้านขวาก็จะเป็นชายหาดในหานสวยงามมากทีเดียว นอกจากตัวแหลมแล้ว เพื่อนๆ ยังสามารถไปดูประภาคารกาญจนาภิเษก ซึ่งภายในจะมีนิทรรศการเกี่ยวกับการสร้างประภาคาร
* [[สนามบินนานาชาติภูเก็ต]] อยู่ติดชายทะเลระหว่างหาดในยางและหาดไม้ขาว
* [[อนุสรณ์สถานเมืองถลาง]] อยู่ในสมรภูมิเมืองถลาง พ.ศ. 2328 ตำบลเทพกระษัตรี อำเภอถลาง พื้นที่ ๙๖ ไร่ ก่อนการพัฒนาเป็นทุ่งนาหลวง มีคลองเสน่ห์โพไหลผ่านไปบรรจบกับคลองบางใหญ่ซึ่งไหลมาจากเทือกเขาพระแทวไปออกทะเลที่อู่ตะเภา ทะเลพัง เคยเป็นที่จอดเรือรบของยี่หวุ่น แม่ทัพเรือพม่าเมื่อ พ.ศ. 2328
เส้น 427 ⟶ 432:
ในอดีตนั้นชาวพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในภูเก็ตนั้น ส่วนใหญ่ล้วนเป็นชาวจีนอพยพมาจากมณฑลฮกเกี้ยน เมื่อเข้ามาอาศัยอยู่ในภูเก็ตแล้ว ก็ได้นำเอาวัฒนธรรมต่าง ๆ มากมายเข้ามาใช้ หนึ่งในนั้นก็คือ ภาษา ซึ่งในยุคแรก ๆ นั้นได้ติดต่อสื่อสารกันด้วยภาษาจีนฮกเกี้ยน ต่อมามีการค้าขายมากขึ้นต้องติดต่อกับต่างชาติมากขึ้น ชาวจีนฮกเกี้ยนบางส่วนก็ไปมาหาสู่กับปีนัง มาเลเซียบ้าง มีการค้าขายแร่ดีบุกต่าง ๆ มากขึ้น ทำให้ภาษามลายูเริ่มเข้ามาผสมปนเข้าด้วยกันกับภาษาฮกเกี้ยน ทำให้เกิดเป็นภาษาที่ผสมสำเนียงเข้าด้วยกัน เป็นภาษาที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในภูเก็ตและใกล้เคียง
ภาษาฮกเกี้ยนในภูเก็ตนั้น ปัจจุบันยังคงมีใช้อยู่เพียงแต่สำเนียงอาจจะเพี้ยนไปจากภาษาฮกเกี้ยนเดิมบ้าง เพื่อปรับให้เข้ากับการออกเสียงของคนภูเก็ต ซึ่งใกล้เคียงกับภาษาฮกเกี้ยนที่ใช้กันในปีนัง มาเลเซีย หรือสิงคโปร์ เนื่องจากมีการปรับเสียงให้เข้ากับสัทอักษรการออกเสียงของคนภูเก็ต บางคำในภาษาฮกเกี้ยนจึงไม่เหมือนกันภาษาฮกเกี้ยนแท้ของจีน แต่ก็ใกล้เคียง นอกจากนี้ยังพบว่าระบบไวยากรณ์ที่ใช้นั้น บ้างก็ยืมมากจากภาษาฮกเกี้ยนด้วย ภาษาภูเก็ตบ้างก็เรียก ภาษาบาบ๋า
 
ตัวอย่างภาษาถิ่น
 
== การศึกษา ==