ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิคังซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
จักรพรรดิคังซี
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เพิ่มเหตุการณ์สมัยฮ่องเต้คังซี
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 35:
รัชสมัยของจักรพรรดิคังซีนับเป็นระยะเวลาวิกฤตของราชวงศ์ชิง เพราะมีการต่อสู้ระหว่างชาวฮั่นที่ต้องการกู้[[ราชวงศ์หมิง]] รวมถึงชนเผ่าอื่น ๆ ที่ต้องการก่อกบฏ จักรพรรดิคังซีทำสงครามภายในประเทศยาวนานถึง 8 ปี จึงพิชิตแคว้นต่าง ๆ ได้ราบคาบ ก่อนที่พระองค์จะมีพระชนมายุ 30 พรรษา ทั้งขยายอาณาเขตถึง[[มองโกเลีย]]และ[[ทิเบต]]
 
หนึ่งในนโยบายสร้างความมั่นคงก็คือ สร้างสัมพันธ์กับชาวแมนจูที่อาศัยทางเหนือแต่เดิมให้แข็งแกร่ง ส่งอาวุธและกำลังพลไปรักษาชายแดนแถบนี้บ่อยครั้งเพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าอื่น อีกทั้งยังทรงออกทัพเอง และได้ทำสงครามกับ[[รัสเซีย]]ในยุคสมัยของ[[พระเจ้าปีเตอร์มหาราช]] และได้รับชัยชนะด้วย ซึ่ง

'''เหตุการณ์สงครามได้จบลงที่การสร้างสัมพันธไมตรีต่อกัน รวมถึงการยกทัพบุก[[พม่า]] ทำให้จีนในยุคครั้งนี้เข้มแข็งและยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์'''
 
 ช่วงกลางศตวรรษที่ 17沙俄哥萨克ทหารชิงทำสงครามภายในของจีนกับ 2 อ๋อง คือ อ๋องอู๋ซานกุ้ย และอ๋องเจิ้งเฉิงกงไต้หวัน
 
จีงเข้าร่วมรบรัสเซียบริเวณชายแดนแมนจูเรียนอก โดยรัสเซียบุกภูมิภาคชายฝั่งทางเหนือของจีนเฮยหลงเจียง ที่เมือง Jaxa, Nerchinsk สองเมืองสำคัญ
 
ฮ่องเต้คังซี Kangxi พระชนมายุยี่สิบสี่ปี (ค.ศ. 1685) รัฐบาลชิงตัดสินใจที่จะนำนักรบ ฝูเจี้ยนโล่หวายลายเสือ 500 คน จากไต้หวัน(อดีตกองทัพเจิ้งเฉิงกง ที่เคยรบชนะฮอลันดาและชวาหรือ ปัตตาเวีย ) นำโดยโฮ Yu ไปรบที่เมือง Jaxa
 
วันที่ 24 พฤษภาคม 1685 กองทัพรัสเซียได้ใช้ประโยชน์จากแม่น้ำเฮยหลงเจียงเพื่อพยายามเสริมสร้างกำแพงเมือง Jacques City  แต่ก็ถูก หลินซิงผู่อดีตผู้นำทหารอาสาของเจิ้งเฉิงกง ลอยตัวในน้ำ แล้วใช้โล่กลมลายเสือปลายแหลมสวมบนศีรษะ ว่ายน้ำเข้าหาทหารรัสเซีย ในขณะที่ทหารรัสเซียยิงปืนใส่โล่แต่มิเป็นผล นายทหารรัสเซียกล่าวว่า "ตาร์ตาร์กับหมวกใหญ่" มีโล่ป้องกันศีรษะกระสุนรัสเซีย
 
ค.ศ. 1,841 กองโล่ทหารได้รับคำสั่งให้โจมตีอีกครั้งเป้าหมายคือการโจมตีติงไห่ เพื่อรบกับอังกฤษ ผลคือ ทหารโล่ลายเสือถูกสังหาร 600 คน ส่วนอังกฤษ โดนสังหารไปแค่ 1 คน
 
Credit Qulishi
 
และในที่สุดกองทัพต้าชิงได้รับชัยชนะ ซึ่งสงครามได้จบลงที่การสร้างสัมพันธไมตรีต่อกัน รวมถึงการยกทัพบุก[[พม่า]] ทำให้จีนในยุคนี้เข้มแข็งและยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์
 
[[ไฟล์:Kangxi-Verbotene-Stadt1.jpg|thumb|ริ้วขบวนบางส่วนของจักรพรรดิคังซีเสด็จนิวัติกรุงปักกิ่ง หลังจากเสด็จประพาสแดนใต้]]