ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกซ์บอกซ์ (เครื่องเล่นวิดีโอเกม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gm ant (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Gm ant (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 82:
 
เอกซ์บอกซ์ ไลฟ์เปิดให้บริการในปี 2545 แต่ในการที่จะเข้าถึงบริการได้นั้น ผู้ใช้ต้องทำการซื้อชุดเริ่มต้นสำหรับเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์ ซึ่งประกอบไปด้วยชุดหูฟัง และบัตรสมัครสมาชิกเพิ่มเติม. ระหว่างที่เอกซ์บอกซ์ยังคงได้รับการสนับสนุนจากไมโครซอฟท์ เอกซ์บอกซ์ แดชบอร์ดได้รับการอัปเดตผ่านเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์หลายครั้งเพื่อลดการโกงและเพิ่มคุณสมบัติ
===เกม===
 
เอกซ์บอกซ์วางจำหน่ายอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2544 เกมวางจำหน่ายที่ได้รับความนิยมพร้อมเครื่องอย่าง''เฮโล: คอมแบท อีโวลด์'' ''โปรเจค ก็อตแธม เรซิ่ง''และ''เดด ออร์ อไลฟ์ 3'' โดยทั้ง 3 เกมนั้นมียอดขายเกิน 1 ล้านชุดในสหรัฐอเมริกา<ref>{{cite web|url=http://www.the-magicbox.com/Chart-USPlatinum.shtml|title=The Magic Box - US Platinum Chart Games.|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref>
 
แม้ว่าเอกซ์บอกซ์จะได้รับการสนับสนุนจากบริษัทภายนอกที่แข็งแกร่งตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง แต่เกมเอกซ์บอกซ์ในช่วงต้นจำนวนมากไม่ได้ใช้ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพจนเต็มที่แม้ว่าจะวางจำหน่ายไปเป็นปี โดยเกมเวอร์ชันเอกซ์บอกซ์ของเกมที่ลงให้กับเครื่องเล่นวิดีโอเกมหลายเครื่องนั้นมักจะมาพร้อมกับการเพิ่มคุณสมบัติเล็กน้อยหรือการปรับปรุงด้านกราฟิกเพื่อแยกความแตกต่างจากเครื่องเพลย์สเตช้น 2 และเกมคิวบ์ ซึ่งทำให้จุดขายหลักของเอกซ์บอกซ์ไม่ได้รับการใส่ใจมาก ในช่วงเวลาสั้น ๆ โซนีโต้กลับเอกซ์บอกซ์ด้วยการรักษาเกมที่เป็นที่รอคอยอย่างมากให้เป็นเกมที่ลงเฉพาะเพลย์สเตชัน 2 ในช่วงเวลาหนึ่งอย่างเกมชุด [[Grand Theft Auto|''Grand Theft Auto'']] และเกมชุด [[Metal Gear (series)|''Metal Gear Solid'']] เช่นเดียวกับนินเทนโดที่รักษาเกมชุด [[Resident Evil (series)|''Resident Evil'' series]] ให้เป็นเกมเฉพาะเครื่องเกมคิวบ์ โดยบริษัทภายนอกเด่น ๆ ที่สนับสนุนเอกซ์บอกซ์คือเซก้า ซึ่งประกาศว่ามีเกมจำนวน 11 เกมลงเฉพาะบนเอกซ์บอกซ์ในงาน [[Tokyo Game Show]].<ref>{{cite web|url=https://news.microsoft.com/2001/03/30/sega-and-microsoft-team-up-for-strategic-xbox-alliance/|title=Sega and Microsoft Team Up for Strategic Xbox Alliance - News Center|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref> [[เซก้า]] วางจำหน่ายเกมเฉพาะ ''[[Panzer Dragoon Orta|เพนเซอร์ ดรากูล ออต้า]]'' และ''[[Jet Set Radio Future|เจ็ท เซ้ต เรดิโอ ฟิวเจอร์]]'' ซึ่งได้รับคำชมจากนักวิจารณ์<ref>{{cite web|url=http://www.gamerankings.com/xbox/537421-panzer-dragoon-orta/index.html|title=Panzer Dragoon Orta for Xbox - GameRankings|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.gamerankings.com/xbox/475263-jsrf-jet-set-radio-future/index.html|title=JSRF: Jet Set Radio Future for Xbox - GameRankings|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref>
 
ในปี 2545 และ 2546 การวางขายเกมที่มีชื่อเสียงสูงช่วยให้โมเมนตัมของเอกซ์บอกซ์ดีขึ้นและแยกตัวออกจากออกจากเพลย์สเตชัน 2 ไมโครซอฟท์ยังเข้าซื้อกิจการของแรร์ที่ทำเกมฮิตจำนวนมากบนเครื่องนินเทนโด 64 เพื่อที่จะขยายพอร์ตโฟลิโอของบริษัทเกมภายใน<ref name="ign.com">{{cite web|url=http://www.ign.com/articles/2002/09/24/microsoft-buys-rare|title=Microsoft Buys Rare|first=Aaron|last=Bouldling|date=September 24, 2002|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref> บริการเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์เริ่มให้บริการช่วงหลังปี 2545 พร้อมกับเกมอย่าง ''โมโตจีพี'' ''เมชแอสซอล'' และ''ทอม แคลนซี่ส์ โกสต์ รีคอน'' โดยเกมขายดีและได้รับคำวิจารณ์ในแง่บวกหลายเกมก็ออกตามมาเช่นทอม แคลนซี สปลินเตอร์ เซลล์และ ''[[สตาร์ วอร์ส: ไนทส์ออฟดิโอลด์รีพับลิค (วิดีโอเกม)|สตาร์ วอร์ส: ไนทส์ออฟดิโอลด์รีพับลิค]]'' เมื่อข้อตกลงของ [[Take-Two Interactive]] ที่จะทำเกมลงเฉพาะกับโซนีมีการแก้ไขเพื่อให้ ''[[Grand Theft Auto III|แกรนด์เธฟต์ออโต III]]'' และภาคต่อวางจำหน่ายบนเอกซ์บอกซ์ บริษัทจัดจำหน่ายอื่นก็เริ่มที่จะนำเกมลงเอกซ์บอกซ์ โดยออกวางจำหน่ายห่างจากเวอร์ชันเพลย์สเตชัน 2 หลายเดือน
 
ปี 2547 เป็นปีที่เกมเฉพาะเครื่อง ''[[เฟเบิล]]''<ref>{{cite web|url=http://www.gamerankings.com/xbox/516688-fable/index.html|title=Fable for Xbox - GameRankings|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref> และ [[Ninja Gaiden (2004 video game)|''นินจาไกเด็น'']]<ref>{{cite web|url=http://www.gamerankings.com/xbox/561532-ninja-gaiden/index.html|title=Ninja Gaiden for Xbox - GameRankings|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref> ซึ่งทั้งคู่กลายเป็นเกมที่ได้รับความนิยมบนเอกซ์บอกซ์<ref>{{cite web|url=http://www.ign.com/articles/2004/09/23/fable-sells-big|title=Fable Sells Big|first=David|last=Adams|date=September 23, 2004|publisher=|accessdate=December 30, 2016}}</ref> ในช่วงครึ่งหลังปี เฮโล 2 ออกวางจำหน่ายและกลายเป็นสื่อบันเทิงซึ่งทำรายได้สูงสุดภายในวันแรก ณ เวลานั้นที่ 125 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐ<ref>{{cite web|url=http://news.cnet.com/Halo-2-clears-record-125-million-in-first-day/2100-1043_3-5447379.html| title='Halo 2' clears record $125 million in first day|accessdate=September 30, 2007|last=Becker|first= David|date=November 10, 2004| publisher=News.com}}</ref> และกลายเป็นเกมที่ขายดีที่สุดบนเครื่องเอกซ์บอกซ์<ref name="halo2sales">{{cite web | author=Asher Moses | date=August 30, 2007 | url=http://www.smh.com.au/news/biztech/prepare-for-allout-war/2007/08/30/1188067256196.html | title=Prepare for all-out war | publisher=[[The Sydney Morning Herald]] | accessdate=July 16, 2008 | quote=Combined, the first two Halo games have notched up sales of more than 14.5 million copies so far, about 8 million of which can be attributed to Halo 2, which is the best-selling first-generation Xbox game worldwide.}}</ref> เฮโล 2 กลายเป็นเกมที่เป็นจุดขายของระบบเกมที่สามต่อภายในปีนั้นจาก ''[[MechAssault|เมชแอสซอล]]'' & ''[[Tom Clancy's Rainbow Six 3: Raven Shield#Tom Clancy's Rainbow Six 3|ทอม แคลนซี เรนโบว์ซิกส์ 3]]'' นอกจากนี้ในปีนั้นไมโครซอฟท์ยังได้ตกลงกับ EA ที่จะนำเกมที่ยอดนิยมมาลงบนเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์เพื่อสร้างความนิยมในบริการของพวกเขา
 
ปี 2548 มีเกมเฉพาะเครื่องที่ได้รับความนิยมอย่าง ''[[Conker: Live & Reloaded]]'' และ [[Forza Motorsport (video game)|''ฟอร์ซ่ามอเตอร์สปอร์ต'']] นอกจากนี้ไมโครซอฟท์ยังได้เริ่มวางจำหน่ายเอกซ์บอกซ์ 360 ซึ่งเป็นรุ่นถัดมา เกมอย่าง ''[[Kameo: Elements of Power]]'' และ ''[[Perfect Dark Zero|เพอร์เฟคดาร์ก ซีโร่]]'' ซึ่งเดิมทีนั้นถูกพัฒนาเพื่อลงเอกซ์บอกซ์<ref name="ign.com"/> กลายเป็นเกมวางจำหน่ายพร้อมเครื่องเอกซ์บอกซ์ 360 แทน โดยเกมสุดท้ายที่วางจำหน่ายสำหรับเอกซ์บอกซ์ได้แก่เกม ''[[Madden NFL 09]]'' ซึ่งวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2551
 
==บริการ==
 
ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2545 ไมโครซอฟท์เปิดให้บริการเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์ ที่อนุญาติให้ผู้ใช้สมัครเพื่อที่เล่นเกมของเอกซ์บอกซ์แบบออนไลน์กับผู้ใช้คนอื่น ๆ ที่สมัครบริการเดียวกันทั่วโลกได้ รวมถึงดาวน์โหลดเนื้อหาใหม่ ๆ สู่งฮาร์ดดิสก์ของเครื่องได้โดยตรง บริการออนไลน์นี้ทำงานผ่านเฉพาะการเชื่อต่ออินเตอร์เน็ตแบบบรอดแบรนด์เท่านั้น โดยมีสมัครใช้บริการจำนวน 250,000 คนภายใน 2 เดือนแรก<ref>{{cite web|url=http://games.ign.com/articles/381/381618p1.html |title=Xbox Live Subscriptions Double Expectations |accessdate=September 30, 2007 |author=Coleman, Stephen |date=January 7, 2003 |publisher=IGN |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070314203443/http://games.ign.com/articles/381/381618p1.html |archivedate=March 14, 2007 }}</ref> ในเดือนกรกฎาคม 2547 ไมโครซอฟท์ประกาศว่าเอกซ์บอกซ์ ไลฟ์มีผู้ใช้บริการครบ 1 ล้านคน ในเดือนเดียวกันของปีถัดมายอดสมาชิกเพิ่มเป็น 2 ล้านคน ในเดือนกรกฎาคม 2550 มีผู้ใช้จำนวน 3 ล้านราย โดยในเดือนพฤษภาคม ปี 2552 มีจำนวนผู้สมัครใช้บริการ 20 ล้านราย<ref>{{cite web|url=https://www.engadget.com/2009/05/28/microsoft-touts-30-million-xbox-360s-sold-20-million-xbox-live/ |title=Microsoft touts 30 million Xbox 360s sold, 20 million Xbox LIVE members |publisher=Engadget |accessdate=November 11, 2010}}</ref> ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2553 มีการประกาศว่าเอกซ์บอกซ ไลฟ์สำหรับเอกซ์บอกซ์จะหยุดให้บริการในวันที่ 14 เมษายน 2553<ref name="nelson"/> บริการนี้หยุดตามที่วางแผนไว้ แต่กลุ่มผู้เล่นจำนวน 20 คนยังสามารถใช้บริการได้อยู่นานนับเดือน โดยการเปิดเครื่องเล่นวิดีโอเกมให้เชื่อมต่อกับเกมเฮโล 2 ค้างไว้<ref>{{cite web|url=http://www.eurogamer.net/articles/people-still-playing-halo-2-somehow|title=People still playing Halo 2 somehow|date=April 26, 2010|accessdate=June 4, 2010|publisher=[[Eurogamer]]}}</ref>
 
==ยอดขาย==
{| class="wikitable" style="float:right; margin:0 0 0.5em 1em;"
|-
! ภูมิภาค
! จำนวนที่ขายได้<br /><small>(จนถึงวันที่ 10 พฤษภาคม 2549)</small>
! วันจำหน่ายครั้งแรก
|-
| อเมริกาเหนือ
| 16 ล้าน
| 15 พฤศจิกายน 2544
|-
| ยุโรป
| 6 ล้าน
| 14 มีนาคม 2545
|-
| เอเชียแปซิฟิก
| 2 ล้าน
| 22 กุมภาพันธ์ 2545
|-
| '''ทั่วโลก'''
| '''24 ล้าน'''
| N/A
|}
 
ในเดือนพฤศจิกายน 2544 เอกซ์บอกซ์ได้วางจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนือและขายหมดอย่างรวดเร็ว โดยการวางจำหน่ายในภูมิภาคนี้ประสบความสำเร็จอย่างมาก โดยใน 3 เดือนแรกสามารถขายได้ 1.53 ล้านเครื่องซึ่งมากกว่ารุ่นถัดมาอย่างเอกซ์บอกซ์ 360 เช่นเดียวกับ [[เกมคิวบ์]] [[เพลย์สเตชัน 3]] [[วียู]]และแม้แต่ [[เพลย์สเตชัน 2]] และ[[วี]]<ref>{{cite web|last=Orland |first=Kyle |url=https://arstechnica.com/gaming/2013/02/wii-u-has-historically-bad-january-sells-about-50000-units-in-us/ |title=Wii U has historically bad January, sells about 50,000 units in U.S |publisher=Arstechnica.com |date=February 15, 2013 |accessdate=April 25, 2014}}</ref>
 
เอกซ์บอกซ์ขายได้ทั้งหมด 24 ล้านเครื่องทั่วโลก ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2549 จากข้อมูลของไมโครซอฟท์<ref name="gamers_catch" /> โดยแบ่งเป็น 16 ล้านเครื่องในทวีปอเมริกาเหนือ 6 ล้านเครื่องในทวีปยุโรป 2 ล้านเครื่องในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและประเทศนิวซีแลนด์
 
ยอดขายของเอกซ์บอกซ์ในแต่ละเดือนนั้นทั้งหมดแทบจะตามหลังยอดขายของเพลย์สเตชัน 2 ยกเว้นในเดือนเมษายน 2547 ที่เอกซ์บอกซ์ขายดีกว่าเพลย์สเตชัน 2 ในสหรัฐอเมริกา<ref>{{cite web |url=http://uk.gamespot.com/news/xbox-officially-outsells-ps2-in-us-6099369 |archive-url=https://archive.is/20130628041554/http://uk.gamespot.com/news/xbox-officially-outsells-ps2-in-us-6099369 |dead-url=yes |archive-date=June 28, 2013 |title=Xbox officially outsells PS2 in US |publisher=[[CBS Interactive]] |work=GameSpot.com |date=May 26, 2004 |accessdate=August 12, 2013 |first=Tor |last=Thorsen }}</ref> แม้จะมียอดขายห่างจากเพลย์สเตชัน 2 เป็นอย่างมาก เอกซ์บอกซ์ถือว่าประสบความสำเร็จ (อย่างมากในทวีปอเมริกาเหนือ) มียอดขายในอันดับสองของเครื่องเล่นวิดีโอเกมรุ่นที่ 6 อย่างมั่นคง
===ญี่ปุ่น===
แม้จะมีการประชาสัมพันธ์อย่างหนักในประเทศญี่ปุ่น<ref>{{cite web |url=http://thegia.psy-q.ch/sites/www.thegia.com/news/0202/n22a.html |title=Xbox launches in Japan |publisher=The Gaming Intelligence Agency |date=February 22, 2002 |accessdate=August 12, 2013 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20131212122449/http://thegia.psy-q.ch/sites/www.thegia.com/news/0202/n22a.html |archivedate=December 12, 2013 |df=mdy-all }}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.theage.com.au/articles/2002/02/22/Japan-xbox.htm |title=Xbox unleashed in Japan |publisher=The Age Company Ltd. |date=February 22, 2002 |accessdate=August 12, 2013}}</ref>แต่ทว่ายอดขายในประเทศนี้ดูแย่เป็นอย่างมาก(460,000 เครื่องจนถึงเดือนพฤศจิกายน 2554)<ref>{{cite web|url=http://uk.ign.com/articles/2011/11/23/the-life-and-death-of-the-original-xbox?page=2 |title=The Life and Death of the Original Xbox|publisher=''IGN UK'' |accessdate=April 25, 2014}}</ref> นักวิเคราะห์บางคนเชื่อว่าที่เอกซ์บอกซ์จะมีปัญหาในการต่อกรกับโซนีและนินเทนโดก่อนที่จะวางจำหน่ายในญี่ปุ่น โดยจะต้องแข่งกับของเล่นที่คล้ายกันและบางอย่างของเอกซ์บอกซ์ไม่เหมาะสำหรับสังคมในญี่ปุ่น (เช่นขนาดของเครื่อง) ทั้งยังขาดเกมที่วางจำหน่ายพร้อมเครื่องที่น่าสนใจสำหรับญี่ปุ่นเช่นเกมแนวสวมบทบาท<ref>{{cite web |url=http://www.taipeitimes.com/News/worldbiz/archives/2002/02/21/0000124876 |title=Game-over for Xbox in Japan? |publisher=[[Taipei Times]] |date=February 21, 2002 |accessdate=August 12, 2013}}</ref> โดยในสุดสัปดาห์ของ 14 เมษายน 2545 ยอดขายของเอกซ์บอกซ์ห่างจากคู่แข่งอย่างโซนีและนินเทนโดเป็นอย่างมากรวมทั้งยอดขายของ WonderSwan และ [[เพลย์สเตชัน|PSone]].<ref>{{cite web |url=http://uk.ign.com/articles/2002/04/18/japan-gcn-sales |title=Japan GCN sales |publisher=''[[IGN Entertainment]]'' |date=April 18, 2002 |accessdate=August 12, 2013}}</ref> ในเดือนพฤศจิกายน 2545 หัวหน้าเอกซ์บอกซ์ในประเทศญี่ปุ่นได้ลาออก นำไปสู่การหารือกันถึงอนาคตของเอกซ์บอกซ์ ที่มียอดขายเพียง 278,860 เครื่องนับตั้งแต่วางจำหน่ายเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2545<ref>{{Citation|date=December 2002| title = Xbox dead in Japan?| magazine = [[GamesTM]]| issue = 1| publisher = [[Imagine Publishing]]| page = 11| issn = 1478-5889| url = https://archive.org/details/gamesTM001| accessdate = April 25, 2014| quote = "Xbox is failing in Japan, there's no denying it. Despite the country's fascination with America, it seems uneasy investing in a non- Japanese product; so far just 278,860 Xbox consoles have been sold, compared to almost 700,000 GameCubes during the same period. These embarrassing figures have resulted in Hirohisa Ohura, Director of Xbox Japan, being moved to a different department within Microsoft, hinting that a certain amount of re-structuring is about to take place."}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.pinoyexchange.com/forums/showthread.php?t=124138 |title=Japan Xbox chief steps down |publisher=PinoyExchange Forums |date=November 10, 2002 |accessdate=August 12, 2013}}</ref> ในสุดสัปดาห์ของวันที่ 18 กรกฎาคม 2547 เอกซ์บอกซ์ขายได้เพียง 272 เครื่อง ซึ่งแย่กว่าเพลย์สเตชันที่ขายได้มากกว่า 4 เท่า<ref>{{cite web |url=http://www.gamepro.com/microsoft/xbox/games/news/37034.shtml |archiveurl=https://web.archive.org/web/20040817075442/http://www.gamepro.com/microsoft/xbox/games/news/37034.shtml |title=Xbox Outsold by PS one in Japan |publisher=[[IDG Entertainment]] |work=GamePro.com |date=July 23, 2004 |accessdate=August 12, 2013 |archivedate=August 17, 2004 |author=Funky Zealot}}</ref> ที่เอกซ์บอกซ์ทำได้ แต่ทว่า ขายได้มากกว่าเกมคิวบ์ในสุดสัปดหา์ของวันที่ 26 พฤษภาคม 2545<ref>[https://archive.is/20130628041503/http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:V9EFkJlkfloJ:http://m.computerandvideogames.com/49940/xbox-overtakes-gamecube-in-japan%2Bxbox+overtakes+gamecube&oe=utf-8&rls=org.mozilla:en-US:official&client=firefox-a&hl=en&ct=clnk Xbox overtakes GameCube in Japan]</ref> แม้จะมีความพยายามของไมโครซอฟท์ แต่เกมที่น่าสนใจแนวญี่ปุ่นบางเกมที่เป็นเกมเฉพาะสำหรับเอกซ์บอกซ์ เช่น เดด ออร์ อไลฟ์ 3 หรือนินจาไกเด็นซึ่งมีส่วนอย่างมากต่อยอดขายเอกซ์บอกซ์ในญี่ปุ่น
 
โดยรุ่นถัดมาอย่างเอกซ์บอกซ์ 360 สามารถขายได้ 1.6 ล้านเครื่องในเดือนกุมภาพันธ์ 2014<ref>{{cite web|last=Phillips |first=Tom |url=http://www.eurogamer.net/articles/2014-02-26-wii-u-has-finally-overtaken-xbox-360-in-japan |title=Wii U has finally overtaken Xbox 360 in Japan • |publisher=Eurogamer.net |date=February 26, 2014 |accessdate=April 25, 2014}}</ref>
== ดูเพิ่ม ==
* [[เอกซ์บอกซ์ 360]]
เส้น 95 ⟶ 144:
[[หมวดหมู่:เครื่องเล่นวิดีโอเกม]]
[[หมวดหมู่:ไมโครซอฟท์]]
{{โครงเกมคอม}}
{{เครื่องเกมยุคที่หก}}
{{ออกปี|2544}}