ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาทิลาเพีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
คอลลาเจนจากปลาธิราเพียร์ดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้น้อยกว่าปลาทะเลที่มีผิวสีขาว
บรรทัด 45:
และบางชนิดได้ถูกนำเข้ามาในฐานะ[[ปลาสวยงาม]] เช่น [[ปลาหมอบัตเตอร์]] (''Heterotilapia buttikoferi'')<ref>{{cite web |url=http://www.aquaticcommunity.com/tilapia/aquariums.php|title=Keeping Tilapia in Aquariums |year=2008 |work=Tilapia |publisher=AC Tropical Fish |accessdate=2009-01-19}}</ref> และด้วยความที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ได้ง่าย จึงกลายมาเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศต่าง ๆ<ref name="daff"/> ในฐานะ[[สัตว์น้ำ#สัตว์น้ำต่างถิ่น|ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น]] เช่น สหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย<ref name="daff">{{cite web|url=http://www.daff.qld.gov.au/fisheries/pest-fish/noxious-fish/tilapia|title=Tilapia|publisher=Department of Agriculture, Fisheries and Forestry}}</ref> รวมถึงประเทศไทย<ref name="ชว"/>
 
เนื้อปลาทิลาเพียมีประโยชน์ทางโภชนาการ มีสารอาหารประเภท[[โอเมกา3]] ในสัดส่วนที่น้อยกว่า[[โอเมกา6]] และในทางการแพทย์ ในเชิงศัลยกรรมยังสามารถนำเกล็ดมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคประเภท[[คอลลาเจน]]ได้อีกด้วย โดยมีปริมาณ[[โพรลีน]]และ[[ไฮดรอกซีโพรลีน]]ในสัดส่วนสูงแต่ดูดซึมเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์ได้น้อยกว่าคอลลาเจนที่สกัดจากผิวของปลาทะเล<ref>{{citeน้ำลึก web|title=โดยเฉพาะปลาธีราเพียร์ แหล่งคอลลาเจนชั้นที่ดีที่สุดในโลก|url=http://www.thaibio.com/Collagen-%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99|publisher=thaibio|accessdate=June 26, 2016}}</ref>ผิวขาว นอกจากนี้แล้วทั้งเกล็ดและหนังปลาทิลาเพียยังนำมาประยุกต์ใช้รักษาแผลผิวหนังที่ได้รับบาดเจ็บจากการถูกไฟไหม้หรือไฟลวกได้ดีอีกด้วย โดยมีการทดลองใช้ครั้งแรกในประเทศบราซิล โดยสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานถึง 2 ปี<ref>{{cite web|url=http://virginstarfm.becteroradio.com/news/20420/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B6%E0%B8%87!-%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A5-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%89-%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2-50-%E0%B8%84%E0%B8%99|work=เวอร์จินเรดิโอ|date=2016-12-29|accessdate=2017-05-28|title=
ตะลึง! แพทย์บราซิลใช้หนังปลานิล รักษาคนไข้ไฟไหม้ ทดลองใช้กับคนไข้แล้วกว่า 50 คน}}</ref>