ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลอโรพลาสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Chloroplast-new.jpg|thumb|300px|right|องค์ประกอบภายในของคลอโรพลาสต์]]
 
'''คลอโรพลาสต์''' ({{lang-en|Chloroplast}}) เป็นออร์แกแนลล์ภายใน[[ไซโทพลาสซึม]] ชนิดเยื่อยูนิตสองชั้น (Double unit membrane) ภายในเป็นของเหลวที่เรียกว่า ([[Stroma]]) ภายในสโตรมานี้มีชั้นที่พับไปมา เรียกว่ากรานุม (Granum) บริเวณผิวของกรานุมนี้เรียกว่า ไทลาคอยด์ ซึ่งเป็นที่อยู่ของสารสีสำหรับการสังเคราะสโตรมาห์ด้วยแสง ระหว่างกรานุมมีเยื่อที่เชื่อมโยงแต่ละกรานุมไว้ เรียกว่าสโตรมาลาเมลลา (Stroma lamella)
 
คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นออร์แกแนลที่พบใน[[พืช]] เป็น[[พลาสติด]] ที่มีสีเขียว พบเฉพาะใน[[เซลล์]]พืช และ[[สาหร่าย]] เกือบทุกชนิด พลาสติดมีเยื่อหุ้มสองชั้น ภายในโครงสร้างพลาสติด จะมีเม็ดสี หรือรงควัตถุบรรจุอยู่ ถ้ามีเม็ดสีคลอโรฟิลล์ (chlorophyll) เรียกว่า คลอโรพลาสต์ ถ้ามีเม็ดสีชนิดอื่นๆ เช่น แคโรทีนอยด์ เรียกว่า โครโมพลาส พลาสติดไม่มีเม็ดสี เรียกว่า ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) ทำหน้าที่ เป็นแหล่งเก็บสะสมโปรตีน หรือเก็บสะสมแป้ง ที่เรียกว่า เม็ดสี (starch grains) เรียกว่า amyloplast ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารคลอโรฟิลล์ ภายในคลอโรพลาสต์ ประกอบด้วยส่วนที่เป็นของเหลว เรียกว่า สโตรมา (stroma) มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์ด้วยแสง แบบที่ไม่ต้องใช้แสง (dark reaction) มี DNA RNA และไรโบโซม และเอนไซม์อีกหลายชนิด ปะปนกันอยู่