ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันมาฆบูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7750816 สร้างโดย 171.100.24.108 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
วัน
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:จตุรงคสันนิบาต.jpg|200px|thumb|วันมาฆบูชา มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''"[[จาตุรงคสันนิบาต|วันจาตุรงคสันนิบาต]]"''' เพราะเป็นวันที่[[พระพุทธองค์]]ประทานหลัก[[โอวาทปาฏิโมกข์]] อันเป็นหัวใจของพระธรรม แก่[[พระอรหันตสาวก]]ผู้เป็น[[เอหิภิกขุ]]ทั้ง1,250รูปที่มาประชุมพร้อมกันเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าโดยมิได้นัดหมายในวัน[[เดือน 3|มาฆ]][[วันเพ็ญ|ปุรณมี]]]]
{{ใช้ปีพศ}}
'''วันมาฆบูชา''' ({{lang-pi|''มาฆปูชา''}}; {{lang-roman|Magha Puja}}) เป็น[[รายชื่อวันสำคัญทางศาสนาพุทธ|วันสำคัญ]]ของชาวพุทธ[[เถรวาท]]และวันหยุดราชการใน[[ประเทศไทย]]<ref name="วันหยุดมาฆะ">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2456/A/533.PDF ประกาศกำหนดวันหยุดราชการ นักขัตฤกษ์ประจำปี (พระพุทธศักราช ๒๔๕๖)], เล่ม ๓๐, ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๖, หน้า ๕๓๓</ref> "มาฆบูชา" ย่อมาจาก "มาฆปูรณมีบูชา" หมายถึง การ[[บูชา]]ในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะตาม[[ปฏิทินฮินดู|ปฏิทินอินเดีย]] หรือเดือน 3 ตามปฏิทิน[[จันทรคติ]]ของไทย (ตกช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม) ถ้าปีใดมีเดือนอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองหน ([[ปฏิทินไทย|ปีอธิกมาส]]) ก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน 3 หลัง (วันเพ็ญเดือน 43)<ref>วันสำคัญของเรา, กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ, พ.ศ. 2520, หน้า 6</ref>
 
วันมาฆบูชาได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธ เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปีก่อน คือ [[พระโคตมพุทธเจ้า]]ทรงแสดง[[โอวาทปาติโมกข์]]ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา คัมภีร์[[ปปัญจสูทนี]]ระบุว่าครั้งนั้นมีเหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน 4 ประการ คือ พระภิกษุ 1,250 รูป ได้มาประชุมพร้อมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย, พระภิกษุทั้งหมดนั้นเป็น "[[เอหิภิกขุอุปสัมปทา]]" หรือผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง, พระภิกษุทั้งหมดนั้นล้วนเป็น[[พระอรหันต์]]ผู้ทรง[[อภิญญา]] 6, และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญเดือน 3<ref name="อรรถกถาทีฆนขสูตร">[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=269&p=1 อรรถกถาทีฆนขสูตร], อรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ปริพพาชกวรรค</ref> ดังนั้น จึงเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันที่มีการประชุมพร้อมด้วยองค์ 4<ref>[[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548</ref>