ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปเอเชีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7763552 สร้างโดย 110.168.6.194 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 9:
| รายชื่อประเทศ = รายชื่อประเทศและดินแดนในทวีปเอเชีย
| ดินแดน = {{Collapsible list
| title = 96 ดินแดน
| list_style = text-align:left;
| 1 = {{flag|เกาะคริสต์มาส}} | 2 = {{flag|บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี}}
บรรทัด 53:
 
=== ยุคโบราณสมัยคลาสสิก ===
 
คำ "Asia" ในภาษาละติน และคำ "Ἀσία" ในภาษากรีกนั้นปรากฏว่าเป็นคำเดียวกัน นักประพันธ์ชาวโรมันแปลคำว่า "Ἀσία" เป็น "Asia" และชาวโรมันเองตั้งชื่อท้องที่แห่งหนึ่งซึ่งปัจจุบันอยู่ในทวีปเอเชียนี้ว่า "Asia" อนึ่ง ครั้งนั้นยังมีดินแดนที่เรียก "เอเชียน้อย" (Asia Minor) และ "เอเชียใหญ่" (Asia Major คืออิรักในปัจจุบัน) ด้วย เนื่องจากหลักฐานแรกสุดเกี่ยวกับชื่อ "เอเชีย" นี้เป็นหลักฐานภาษากรีก เมื่อว่ากันตามพฤติการณ์แล้ว จึงเป็นไปได้ว่า คำ "เอเชีย" มาจากคำ "Ἀσία" ในภาษากรีก แต่ที่มาที่ไปเกี่ยวกับการรับหรือถ่ายทอดคำนั้นยังค้นไม่พบ เพราะยังขาดบริบททางภาษา<ref>{{cite encyclopedia | url=http://www.perseus.tufts.edu/hopper/text?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0057%3Aentry%3D*%29asi%2Fa | title=Ἀσία | author=Henry George Liddell | coauthors=Robert Scott; Henry Stuart Jones; Roderick McKenzie | encyclopedia=A Greek-English Lexicon | year=2007 | location=Medford | publisher=Perseus Digital Library, Tufts University | origyear=1940}}</ref>
 
เส้น 126 ⟶ 125:
 
=== เอเชียกลาง ===
{{บทความหลัก|เอเชียกลาง}}
[[ไฟล์:Central Asia (orthographic projection).svg|200px|thumb|right|แผนที่ของเอเชียกลาง]]
 
{{บทความหลัก|เอเชียกลาง}}
 
'''เอเชียกลาง''' เป็นภูมิภาคที่เกิดขึ้นใหม่จากประเทศต่าง ๆ ที่แยกตัวออกจาก[[สหภาพโซเวียต]] (เฉพาะที่มีเขตแดนอยูในทวีปเอเชีย) มีขนาดพื้นที่ประมาณ 4,021,431 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 61,551,945 คน (กุมภาพันธ์ 2553) เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่อันกว้างใหญ่ของภูมิภาค เอเชียกลางจึงเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่มีประชากรอาศัยอย่างเบาบางที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (เฉลี่ยทั้งภูมิภาค 15 คนต่อตารางกิโลเมตร) และเหตุที่ประเทศภูมิภาคเอเชียกลางไม่มีทางออกสู่ทะเล การส่งออกและการค้าของเอเชียกลางจึงพัฒนาอย่างช้า ๆ โดยประเทศส่งออกหลักของกลุ่มประเทศเอเชียกลาง ได้แก่ [[รัสเซีย]] [[ยุโรปตะวันออก]] และ[[เอเชียตะวันตกเฉียงใต้]]
เส้น 152 ⟶ 150:
 
=== เอเชียตะวันออก ===
[[ไฟล์:East Asia (orthographic projection).svg|150px|thumb|right|แผนที่ของเอเชียตะวันออก]]
{{บทความหลัก|เอเชียตะวันออก}}
[[ไฟล์:East Asia (orthographic projection).svg|150200px|thumb|right|แผนที่ของเอเชียตะวันออก]]
 
'''เอเชียตะวันออก''' หรือ '''เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ''' มีพื้นที่ประมาณ11,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 15 และ 20 ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย นับเป็นภูมิภาคย่อยซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปเอเชีย ประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ [[ประเทศจีน]] มีพื้นที่ประมาณ 9,584,492 ตารางกิโลเมตร เอเชียตะวันออกมีประชากรมากกว่า 1,500 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 40 ของของชาวเอเชียทั้งหมด หรือประมาณ 1 ใน 4 ของประชากรโลกอาศัยอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ทำให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรในเอเชียตะวันออกอยู่ที่ 230 คนต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นอัตราที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 5 เท่า ประเทศที่มีประชากรมากที่สุด คือ ประเทศจีน มีประชากรประมาณ 1,322,044,605 หรือร้อยละ 85 ของประชากรในภูมิภาค ส่วนประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด คือ ไต้หวัน ความหนาแน่นเฉลี่ย 626.7 คนต่อตารางกิโลเมตร
 
เส้น 183 ⟶ 182:
 
=== เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ===
[[ไฟล์:Southeast Asia (orthographic projection).svg|150px|thumb|แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]
{{บทความหลัก|เอเชียตะวันออกเฉียงใต้}}
[[ไฟล์:Southeast Asia (orthographic projection).svg|150200px|thumb|แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]
 
'''เอเชียตะวันออกเฉียงใต้''' หรือ '''เอเชียอาคเนย์''' มีพื้นที่ประมาณ4,600,000 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 593,000,000คน (2008) ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 116.5 คนต่อตารางกิโลเมตร มีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศ 11 ประเทศ ลักษณะทำเลที่ตั้งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนภาคพื้นทวีปและภาคพื้นสมุทร ส่วนภาคพื้นทวีป ได้แก่ [[ประเทศพม่า|พม่า]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] [[ประเทศลาว|ลาว]] [[กัมพูชา]] และ[[มาเลเซีย|มาเลเซียตะวันตก]] และภาคพื้นสมุทร ได้แก่ [[อินโดนีเซีย]] [[ฟิลิปปินส์]] [[มาเลเซีย|มาเลเซียตะวันออก]] [[ติมอร์-เลสเต]] [[บรูไน]] และ[[สิงคโปร์]] ลักษณะภูมิประเทศแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ '''ที่ราบลุ่มแม่น้ำ''' (ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิรวดี ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง ที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา) '''ที่ราบสูง''' (ที่ราบสูงในรัฐฉานชาน เทือกเขาอาระกันโยมา พื้นที่ส่วนใหญ่ของลาว ตอนเหนือของมาเลเซียตะวันตก) และ '''เขตหมู่เกาะ''' (หมู่เกาะอินโดนีเซีย หมู่เกาะฟิลิปปินส์ เกาะสิงคโปร์)
 
โครงสร้างทางเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่เป็นแบบเกษตรกรรม ยกเว้นสิงคโปร์และบรูไนซึ่งมีการพัฒนาอุตสาหกรรมก้าวหน้าไปมาก ในขณะเดียวกันทุกประเทศก็พัฒนาอุตสาหกรรมจนมีความก้าวหน้าไปมาก เช่น [[ไทย]] [[มาเลเซีย]] [[เวียดนาม]] และ[[อินโดนีเซีย]] ในปัจจุบัน กลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการรวมกลุ่มกันเป็น[[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] มีการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีเมืองใหญ่ที่สำคัญหลายเมือง เช่น [[จาการ์ตา]] (เมืองใหญ่ที่สุดในภูมิภาค) [[กรุงเทพมหานคร]] [[เชียงใหม่]] [[สงขลา]] [[โฮจิมินห์ซิตี]] [[ฮานอย]] [[ปูตราจายา]] [[กัวลาลัมเปอร์]] [[สิงคโปร์]] [[บันดาร์เซอรีเบอกาวัน]] [[ภูเก็ต]] เป็นต้น
 
[[ไฟล์:Bangkok nighttime.jpg|220200px|thumbnail|left|[[กรุงเทพมหานคร]]]]
{| class="wikitable"
!rowspan="1"| ธงชาติ
เส้น 222 ⟶ 221:
 
=== เอเชียใต้ ===
[[ไฟล์:South Asia (orthographic projection).svg|thumb|150px|แผนที่เอเชียใต้]]
{{บทความหลัก|เอเชียใต้|อนุทวีปอินเดีย}}
[[ไฟล์:South Asia (orthographic projection).svg|thumb|150200px|แผนที่เอเชียใต้]]
 
'''เอเชียใต้''' หรือ '''ชมพูทวีป''' หรือ '''อนุทวีป''' เป็นทวีปที่อยู่ทางใต้ของทวีปเอเชีย เป็นต้นกำเนิด[[พุทธศาสนา]]และ[[ศาสนาพราหมณ์]]-[[ศาสนาฮินดู|ฮินดู]] เอเชียใต้มีพื้นที่ประมาณ 5,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 10 ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุดอีกแห่งหนึ่งของโลก มีจำนวนประชากรกว่า 1 พันล้านคนอาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ ซึ่งคิดเปรียบเทียบเป็นสัดส่วนเท่ากับ 1 ใน 3 ของชาวเอเชียทั้งหมด หรือ 1 ใน 5 ของประชากรโลก อัตราความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 305 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 7 เท่า ประเทศที่มีประชากรมากที่สุด คือ [[ประเทศอินเดีย]] (1,198,003,000 คน)
เส้น 231 ⟶ 230:
ด้านเศรษฐกิจ ทุกประเทศยังมีโครงสร้างส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม อุตสาหกรรมยังไม่พัฒนามากนัก มีเพียงอินเดียชาติเดียวที่พัฒนาอุตสาหกรรมได้เจริญรุ่งเรือง เพราะได้รับการช่วยเหลือจากประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของเอเชีย คือ [[ญี่ปุ่น]] [[เกาหลีใต้]] และ[[ไต้หวัน]] นอกจากนี้ ภาษาที่ใช้ในเอเชียใต้มีมากถึง 800 ภาษา แต่ภาษากลางจะใช้[[ภาษาอังกฤษ]]ในการสื่อสาร เมืองที่ใหญ่ที่สุดของเอเชียใต้ คือ [[มุมไบ]] ซึ่งเป็นเมืองท่าทางตะวันตกของประเทศอินเดีย
 
[[ไฟล์:Mumbai Skyline at Night.jpg|220200px|thumbnail|left|นคร[[มุมไบ]] [[ประเทศอินเดีย]]]]
{|class="wikitable"
! ธงชาติ
เส้น 257 ⟶ 256:
 
=== เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ===
[[ไฟล์:Western_Asia_(orthographic_projection).svg|thumb|150px|เอเชียตะวันตกเฉียงใต้]]
{{บทความหลัก|เอเชียตะวันตกเฉียงใต้|ตะวันออกกลาง}}
[[ไฟล์:Western_Asia_(orthographic_projection).svg|thumb|150200px|เอเชียตะวันตกเฉียงใต้]]
 
'''เอเชียตะวันตกเฉียงใต้''' หรือ '''ตะวันออกกลาง''' หรือ '''เอเชียตะวันตก''' มีพื้นที่ประมาณ 6,835,434 ตารางกิโลเมตร เป็นดินแดนที่ปกคลุมไปด้วยทะเลทรายแห้งแล้งกว้างใหญ่ ในภูมิภาคนี้ยังมีแม่น้ำสายสำคัญที่เป็นแหล่งอารยธรรมโลก คือ [[แม่น้ำไทกริส]]-[[แม่น้ำยูเฟรทีส|ยูเฟรทีส]]ใน[[ประเทศอิรัก]] เป็นบริเวณที่มีการทำการเกษตรได้ดีที่สุด ด้วยลักษณะทางกายภาพส่วนใหญ่เป็นทะเลทราย ดินแดนแถบนี้จึงอุดมไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน ทำให้น้ำมันกลายเป็นสินค้าส่งออกหลักของประเทศในแถบนี้ อย่างไรก็ตาม เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ยังให้กำเนิดศาสนาที่สำคัญ เช่น [[ศาสนาคริสต์]] [[ศาสนายูดาย]] และ[[ศาสนาอิสลาม]] ถึงแม้ว่าดินแดนแถบนี้จะแห้งแล้ง แต่เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง เพราะมีอาณาเขตติดต่อกับ[[ทวีปแอฟริกา]]ทางด้านตะวันตก และ[[ทวีปยุโรป]]ทางตะวันตกเฉียงเหนือและทิศเหนือ ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีลักษณะส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง (เช่น [[ที่ราบสูงอิหร่าน]]และ[[ที่ราบสูงอานาโตเลีย]]) นอกจากนี้ ยังมีบริเวณที่เป็นคาบสมุทรที่สำคัญ คือ [[คาบสมุทรอาหรับ]]
เส้น 502 ⟶ 501:
 
;'''พาณิชยกรรม:'''
[[ไฟล์:Jakarta Skyline Part 2.jpg|thumb|left|200px|[[จาการ์ตา]]เมืองที่มีประชากรอาศัยอยู่มากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]
:เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นแหล่ง[[การค้าสำคัญ]]อีกแห่งหนึ่ง อันเนื่องมาจาก การขยายตัวทางเศรษฐกิจของหลายประเทศในภูมิภาค และในภูมิภาคก็ยังมีสินค้าที่เป็นที่ต้องการของตลาดโลก เช่น [[ยางพารา]] [[ดีบุก]] [[น้ำมันปาล์ม]] [[ข้าวโพด]] [[ข้าวเจ้า]] ฯลฯ
เมืองที่เป็นศูนย์กลางของพาณิชยกรรมของภูมิภาคนี้ คือ [[สิงคโปร์]] [[กัวลาลัมเปอร์]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[จาการ์ตา]] เป็นต้น