ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งานวิจัยที่มีความเริ่มแรก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''งานวิจัยใหม่ที่มีความเริ่มแรก''' (original research) หมายถึงงานวิจัยมีเนื้อหาที่ไม่ได้ใช้ผลการสรุป [[งานปริทัศน์]] หรือ[[การสังเคราะห์]]ของงานวิชาการที่ตีพิมพ์ก่อนหน้านั้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยใหม่ที่มีความเริ่มแรกก็เพื่อการสร้างความรู้ใหม่มากกว่าการนำเสนอความรู้ที่มีอยู่ก่อนแล้วในรูปแบบใหม่ (เช่น การสรุป หรือ การจำแนก)
 
== ขอบเขตที่ยังไม่ชัดเจน ==
ขอบเขตของงานวิจัยใหม่ที่มีความเริ่มแรก กับ [[งานรวมรวม]] (compilation) อาจยังดูคลุมเครืออยู่ ตัวอย่างเช่น [[การจำแนก]] (classification) ในด้านหนึ่งอาจดูว่าไม่มีความเริ่มแรก เป็นเพียงการรวมรวมสิ่งต่างๆ เข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบเท่านั้น แต่ในอีกด้านหนึ่ง การจำแนกใหม่อาจทำให้เกิดการเข้าถึงความรู้ในวิชานั้นๆ ในระดับที่ลึกมากกว่าเดิมที่สามารถนำไปสู่การคาดการณ์หรือการค้นพบสิ่งใหม่ ดังตัวอย่างคลาสสิก เช่น การทำ ''[[ตารางพิริออดิก]][http://en.wikipedia.org/wiki/Periodic_table][[ธาตุ]]ทาง[[เคมี]] ของ [[ดมีตรี เมนเดลิฟ[http://en.wikipedia.org/wiki/Dmitri_Mendeleevเลเยฟ]]'' (Mendeleev's periodic table of chemical elements.) เมื่อ พ.ศ. 2412 ที่นำไปสู่การค้นพบใหม่ทางเคมีในภายหลัง
 
== รูปแบบอย่างอื่น ==
 
'''งานวิจัยใหม่ที่มีความเริ่มแรก'''อาจมีรูปแบบได้หลายอย่างขึ้นอยู่กับสาขาวิชาซึ่งมีความแตกต่างกัน ใน'''[[งานวิจัยเชิงทดลอง]]''' (experimental) ซึ่งโดยทั่วไปเกี่ยวข้องการสังเกตการณ์โดยตรงหรือทางอ้อมในหัวเรื่องงานวิจัยที่ทำ เช่น การสังเกตการณ์ในห้องทดลอง หรือในภาคสนาม การบันทึกเอกสาร การทำ[[ระเบียบวิธีวิทยา]] ผลลัพธ์และการสรุปการทดลองหรือชุดของการทดลอง หรือการเสนอการแปลความหมายของผลการทดลองที่ผ่านมาแล้ว ใน '''[[งานวิจัยเชิงวิเคราะห์ ]]''' (anlytical) ซึ่งโดยทั่วไปจะได้ผลลัพธ์(เช่น) ผลลัพธ์เชิง[[คณิตศาสตร์]]ออกมาใหม่ หรือได้วิธีการเข้าสู่ปัญหาที่มีอยู่เดิมด้วยวิธีใหม่ ในบางสาขาวิชาที่ไม่มีการใช้วิธีการทดลองหรือการวิเคราะห์ในลักษณะดังกล่าว ความใหม่หรือความเริ่มแรกก็คือการเปลี่ยนหรือการแปลความความเข้าใจเดิมให้ถูกต้องโดยใช้ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยของนักวิจัยผู้นั้น
==รูปแบบอย่างอื่น==
'''งานวิจัยใหม่ที่มีความเริ่มแรก'''อาจมีรูปแบบได้หลายอย่างขึ้นอยู่กับสาขาวิชาซึ่งมีความแตกต่างกัน ใน'''[[งานวิจัยเชิงทดลอง]]''' (experimental) ซึ่งโดยทั่วไปเกี่ยวข้องการสังเกตการณ์โดยตรงหรือทางอ้อมในหัวเรื่องงานวิจัยที่ทำ เช่น การสังเกตการณ์ในห้องทดลอง หรือในภาคสนาม การบันทึกเอกสาร การทำ[[ระเบียบวิธีวิทยา]] ผลลัพธ์และการสรุปการทดลองหรือชุดของการทดลอง หรือการเสนอการแปลความหมายของผลการทดลองที่ผ่านมาแล้ว ใน '''[[งานวิจัยเชิงวิเคราะห์ ]]''' (anlytical) ซึ่งโดยทั่วไปจะได้ผลลัพธ์(เช่น) ผลลัพธ์เชิง[[คณิตศาสตร์]]ออกมาใหม่ หรือได้วิธีการเข้าสู่ปัญหาที่มีอยู่เดิมด้วยวิธีใหม่ ในบางสาขาวิชาที่ไม่มีการใช้วิธีการทดลองหรือการวิเคราะห์ในลักษณะดังกล่าว ความใหม่หรือความเริ่มแรกก็คือการเปลี่ยนหรือการแปลความความเข้าใจเดิมให้ถูกต้องโดยใช้ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยของนักวิจัยผู้นั้น
 
ความมากน้อยของความเริ่มแรกหรือความใหม่ของงานวิจัยถือเป็นเกณฑ์พิจารณาที่สำคัญสำหรับการตีพิมพ์ของ[[วารสารทางวิชาการ]]ซึ่งปรกติจะใช้วิธี[[การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน]] (peer review)
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ]] [[http://en.wikipedia.org/wiki/:Primary_source]]
* [[ความเริ่มแรก]] [http[://en.wikipedia.org/wiki/:Original_idea]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
==ดูเพิ่ม==
* [http://www.unf.edu/library/guides/originalresearch.html นิยามของงานวิจัยเริ่มแรกจากห้องสมุด UNF]
* แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ[http://en.wikipedia.org/wiki/Primary_source]
* [http://www.writing.ku.edu/students/docs/original.shtml ศูนย์การเขียนมหาวิทยาลัยแคนซัส]
* ความเริ่มแรก [http://en.wikipedia.org/wiki/Original_idea]
* วิกิอินโฟ[http://www.internet-encyclopedia.org/index.php/Main_Page วิกิอินโฟ]
 
 
[[หมวดหมู่:การวิจัย]]
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* นิยามของงานวิจัยเริ่มแรกจากห้องสมุด UNF[http://www.unf.edu/library/guides/originalresearch.html]
* ศูนย์การเขียนมหาวิทยาลัยแคนซัส[http://www.writing.ku.edu/students/docs/original.shtml]
* วิกิอินโฟ[http://www.internet-encyclopedia.org/index.php/Main_Page]