ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาผู้ไท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 112:
*เข้า = เห้า
*ข้าว = เห้า
*ขาด = ฮาดหาด
*ขัน = หัน (ขันน็อต,ไก่ขัน)
*ขอด (มัด) = ฮอดหอด
*เขี้ยว (ฟัน) = แห้ว
*ขัดข้อง (ยุ่งเหยิง) = ห้อง
บรรทัด 172:
|
|}
3. ภาษาผู้ไทใช้แต่เพียงสระเดี่ยว ไม่มีสระผสม เช่นเดียวกับภาษาลื้อ ไตขืน ไทใหญ่ เช่น
*ผัว = โผ
*ห้วย = โห้ย
*ตัว = โต,กะโต,ตนโต,คีง
*ชั่ว = โซ่,โซ้
*เมีย = เม
*เมี่ยง = เม่ง
*เขี่ย = เคเขว่
*เขียด = เควดเขวด
*เขียน = เขน
*เกวียน = เก๋นเกน
*เรียน = เฮน
*เลี้ยว = เล้ว
*มะเขือ = มะเขอ
*เรือ = เฮอ
*เหงื่อ = เฮอเห่อ
*ชวน = โซน, โซ
 
4. คำที่ใช้สระเสียงยาวแล้วสะกดด้วย "ก" จะเปลี่ยนเป็นสระเสียงสั้น ไม่ออกเสียง "ก" เช่นเดียวกับภาษาไทถิ่นใต้ฝั่งตะวันตก และภาษาไทดำ ไทขาว พวน เช่น
*ลูก = ลุ๊ลุ
*บอก = เบ๊าะ
*แตก = แต๊ะ
*ตอก = เต๊าะ
*ลอก = เล๊าะเลาะ, ลู่น
*หนอก = เน๊าะเนาะ
*ยาก = ญ๊ะ
*ฟาก,ฝั่ง = ฟ๊ะ
*หลีก = ลิ๊ลิ
*ปีก = ปิ๊
*ราก =ฮะ
*กาก=ก๊ะ
*อยาก = เย๊อะเยอะ
*เลือก = เล๊อะเลอะ
*น้ำเมือก = น้ำเม๊อะเมอะ
*น้ำมูก = ขี้มุ๊มุ
*ผูก = พุ๊พุ
*หยอก = เย๊าะเยาะ
*หมอก = เม๊าะเมาะ
*ดอกไม้ = เด๊าะไม้
*ศอก = เซ๊าะเซาะ
*หนวก = โน๊ะโนะ
* หยวก = โย๊ะ
*ถูก(ถืก ในภาษาลาว) = ทึ๊ทึ
 
5. ภาษาผู้ไทใช้คำที่แสดงถึงการปฏิเสธว่า มี,หมี่ หรือเมื่อพูดเร็วก็จะออกเสียงเป็น มิ เช่นเดียวกับภาษาไทยโบราณ ภาษาจ้วง (bou,mi) และภาษาลื้อบางแห่ง เช่น
บรรทัด 230:
*ใด-ไร = เลอ
*ไย, ทำไม = คือ, เลอ (ภาษาลาวว่า "สัง")
___(ข้อ 7 เป็นต้นไปเป็นเพียงปลีกย่อย)___
 
7. คำว่า จัก หรือ จะ ในภาษาไทย ภาษาผู้ไทจะใช้คำว่า หละ เช่น
7. บางคำมีการออกเสียงต่างจากภาษาไทย ดังนี้
*เธอจะไปไหน = เจ้าหละไปซิเลอ
*ฉันกำลังจะพูด = ข้อยทมหละเว้า
*เขาจะคุยกันเรื่องอะไร = เขาหละแอ่นกันเลิ่งเผอ
___(ข้อ 78 เป็นต้นไปเป็นเพียงปลีกย่อย)___
 
78. บางคำมีการออกเสียงต่างจากภาษาไทย ดังนี้
1) ค เป็น ซ เช่น คง = ซง, ครก = ซก
2) ด เป็น ล เช่น ใด = เลอ, สะดุ้ง (เครื่องมือหาปลาชนิดหนึ่ง) = จะลุ่ง
3) อะ เป็น เอะ เช่น มัน (หัวมัน) = เม็น, มันแกว = เม็นเพา-โหเอ็น, มันเทศ = เม็นแกว
4) เอะ เป็น อิ เช่น เล่น=ดิ้น, เด็กน้อย=ดิ๊กน้อยดิกน้อย, เหล็กไล (ตะปู)=ลิ๊กไล
5) เอีย เป็น แอ เช่น เหี่ยว = แฮแห่ว, เขี้ยว = แห้ว, เหยี่ยว = แหลว, เตี้ย = แต๊, เขียว = แหว
6) สระเสียงสั้นในภาษาไทยบางคำกลายเป็นสระเสียงยาวในภาษาผู้ไท เช่น ลิง = ลีง, ก้อนหิน = มะขี้หีน, ผิงไฟ = ฝีงไฟ
7) อิ เป็น อึ เช่น กลิ่น = กึ้นกึ่น คิด = คึด/ฮึด
89. คำเฉพาะถิ่น เป็นคำที่มีใช้เฉพาะในภาษาผู้ไท และอาจมีใช้ร่วมกับภาษาอื่นที่เคยมีวัฒนธรรมร่วมกัน เช่น
*ดวงตะวัน = ตะเง็น, โก๊
*ดวงเดือน = โต๊ต่าน, เดิ๋น, ต๊อ
เส้น 249 ⟶ 254:
*น้ำหม่าข้าว,น้ำส่งกลิ่นเหม็นเน่า = น้ำโม๊ะ
*สวย = ซับ
*ตระหนี่,ขี้เหนียว = อีด, คี่ขี้อีด, คี่ทีขี้ถี่
*ประหยัด = ติ้กไต้, ตักไต้
*หัวเข่า = โหโค้ย
*ลูกอัณฑะ = มะขะหลำ
เส้น 260 ⟶ 265:
*พูดคุย,สนทนา = แอ่น
*เกลี้ยกล่อม = โญะ, เญ๊า
*หัน = ปิ่น, อวาย, ว้าย (ภาษาลาวว่า งวก, อ่วย)
*ย้ายข้าง = อวาย, ว้าย (ภาษาลาวว่า อ่วย)
*ขอร้อง,วิงวอน = แอ่ว
*กันนักกันหนา = กะดักกะด้อ
เส้น 270 ⟶ 276:
*อุทานไม่พอใจ = เยอ! เยอะ!
*ไปโดยไม่หันกลับมา = ไปกิ่นๆ, ไปกี่ดี่ๆ
* สั้น = สั้น, กิด, ขิ้น
*ยาว = ญาว, สาง
* ปิด = ปิด, อัด, ฮี, กึด, งับ
*เปิด = เปิด, ไข, อ้า