ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
| commander2 = {{plainlist}}
*{{flagicon|Soviet Union}} [[นิกิตา ครุสชอฟ]]
*{{flagicon|Cuba}} [[ฟีเดลฟิเดล กัสโตร]]
*{{flagicon|Cuba}} [[ราอุล กัสโตร]]
*{{flagicon|Cuba}} [[เช เกบารา]]
บรรทัด 46:
'''วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา''' ({{lang-en|Cuban Missle Crisis}}) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่าง[[สหรัฐอเมริกา]]ฝ่ายหนึ่ง กับ[[สหภาพโซเวียต]]และ[[ประเทศคิวบา]]อีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่[[สงครามเย็น]]อยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็น[[สงครามปรมาณู]] ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่า'''วิกฤตการณ์แคริบเบียน''' ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่า'''วิกฤตการณ์เดือนตุลาคม''' เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญในสงครามเย็นนอกจาก[[การปิดล้อมเบอร์ลิน]]{{อ้างอิง}}
 
การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ [[14 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1962]] เมื่อภาพถ่ายจากเครื่องบินสังเกตการณ์ [[ยู-2]] ของสหรัฐอเมริกา เผยให้เห็นฐานปล่อย[[ขีปนาวุธ]] กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา ภายใต้การปกครองของ[[ฟีเดลฟิเดล กัสโตร]] เพื่อตอบโต้การสร้างฐานขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ณ บริเวณพรมแดนของ[[ประเทศตุรกี|ตุรกี]]และสหภาพโซเวียต
 
ทางสหรัฐอเมริกาได้กำหนดมาตรการกักกัน ส่งเรือรบเข้าปิดล้อมคิวบา ห้ามเรือบรรทุกสินค้าทุกลำผ่านเข้ามาในน่านน้ำ[[ทะเลแคริบเบียน]] เมื่อวันที่ [[23 ตุลาคม]] ค.ศ. 1962 หลังจากการเผชิญหน้าผ่านการโต้ตอบทางการทูตอย่างดุเดือด ในวันที่ [[28 ตุลาคม]] ค.ศ. 1962 ทั้ง[[ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา]] [[จอห์น เอฟ. เคนเนดี]] และนายกรัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต [[นิกิตา ครุสชอฟ]] ต่างตกลงยินยอมที่จะถอนอาวุธปรมาณูของตนออกจากตุรกีและคิวบาตามลำดับ จากการร้องขอของ[[อู ถั่น]] ซึ่งดำรงตำแหน่ง[[เลขาธิการสหประชาชาติ]]ในเวลานั้น
บรรทัด 53:
สหรัฐอเมริกาที่หวาดกลัวในการขยาย[[คอมมิวนิสต์]]ของสหภาพโซเวียต แต่สำหรับประเทศแถบ[[ละตินอเมริกา]] การเป็นมิตรกับสหภาพโซเวียตอย่างเปิดเผยนั้นถูกมองว่าไม่สามารถเป็นที่ยอมรับได้ ทำให้สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเป็นศัตรูกันมานับตั้งแต่การสิ้นสุดของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ในปี [[ค.ศ. 1945]] การเข้าไปเกี่ยวข้องเช่นนั้นยังเป็นการปฏิเสธ[[ลัทธิมอนโร]] ซึ่งป้องกันไม่ให้อำนาจใน[[ยุโรป]]เข้ามาแทรกแซงในเรื่องของ[[ทวีปอเมริกาใต้]]
 
ในปลายปี [[ค.ศ. 1961]] [[ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา]] นาย[[จอห์น เอฟ. เคนเนดี]]ได้เริ่มปฏิบัติการมองกูซ เป็นหนึ่งในปฏิบัติการต่อต้านรัฐบาลของ[[ฟีเดลฟิเดล กัสโตร]] แต่ไม่ประสบความสำเร็จ<ref name=chronology>{{citation
| url = http://andromeda.rutgers.edu/~hbf/missile.htm | title = [excerpts from] The Cuban Missile Crisis - An In-Depth Chronology
| first = Jane | last = Franklin}}</ref> และสหรัฐอเมริกายังได้ออกมาตรการห้ามขนส่งสินค้าไปยังคิวบา ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1962<ref>{{cite web
บรรทัด 229:
[[หมวดหมู่:พ.ศ. 2505]]
[[หมวดหมู่:การปิดล้อม]]
[[หมวดหมู่:ฟีเดลฟิเดล กัสโตร]]
{{โครงทหาร}}