ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เงินยาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PPSW (คุย | ส่วนร่วม)
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
{{ประวัติศาสตร์ไทย}}
 
'''หิรัญนครเงินยางเชียงราวลาว''' '''ชยวรนคร (เมืองเชียงลาว)'''<ref>[[ประเสริฐ ณ นครศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่และศูนย์ศิลปวัฒนธรรม]]. (2549, กุมภาพันธ์2538).ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่.</ref> ''ประวัติศาสตร์เบ็ดเตล็ด.'เหรัญญนครเงินยางเชียงแสน'''<ref>[[สรัสวดี กรุงเทพฯ: มติชนอ๋องสกุล]].(2546).พื้นเมืองเชียงแสน.</ref> ISBN 9743236007'''นครยางคปุระ'''<ref>[[พระรัตนปัญญาเถระ]].( หน้า 2672558).ชินกาลมาลีปกรณ์.</ref> หรือ '''หิรัญนครเมืองท่าซาย(ท่าทราย)เงินยางเชียงแสน'''<ref>[[สรัสวดี อ๋องสกุล]].(2539).พื้นเมืองน่าน ฉบับวัดพระเกิด.</ref> ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Hiran Nakhon Ngoen Yang.png|120px]]}}) เป็นอาณาจักรหนึ่งในประเทศไทย
 
== เหตุการณ์ ==
หลังจากการล่มสลายของ[[แคว้นโยนก|เวียงโยนกไชยบุรีศรีช้างแส่น]] [[ลาวจังราช]] หรือ[[ลาวจง]] (ซึ่งตามตำนานว่าเกิดโดยโอปปาติกใต้ต้นพุทรา หรือบางตำนานว่าไต่บันไดเงินและทองคำลงมาบริเวณดอยตุง) ได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นกษัตริย์ เรียกราชวงศ์ใหม่นี้ว่า[[ราชวงศ์ลาว]]
หลังจาก[[เวียงเชียงแสน|เวียงปรึกษา]]ได้ปกครองพื้นที่แถวๆนั้นได้ 93 ปี ก็เป็นอันอวสานของเวียง เนื่องจากเมื่อปี [[พ.ศ. 1181]] [[พระยากาฬวรรณดิศราช]] หรือ [[พญาอนิรุทธ]] กษัตริย์ แห่ง[[ทวารวดี]]ได้เสด็จขึ้นมาสนับสนุน[[พญาลวจักรราช|พญาลวจังกราช]] ผู้มีเชื้อสายของ[[ปู่เจ้าลาวจก|ปู่เจ้าลาวจง]]หรือผู้ที่ขาย[[ดอยตุง]]ให้[[นครโยนกนาคพันธุ์]] สร้าง[[พระธาตุดอยตุง]] ขึ้นเป็นกษัตริย์ ของเวียงปรึกษา [[พญาลวจักรราช|พญาลวจังกรราช]] จึงตั้งชื่อให้ราชวงศ์ใหม่ของพระองค์นี้ว่า [[ราชวงศ์ลวจักรราช|ราชวงศ์ลวจังกราช]] หรือ [[ราชวงศ์ลาว]]
 
[[ลาวจังกราช]] ครองราชย์ในเมืองหิรัญนครเงินยาง เชื่อว่าอยู่บริเวณเมืองโบราณที่เรียกว่า [[เวียงพานคำ]] ใน[[อำเภอแม่สาย]] [[จังหวัดเชียงราย]] สอดคล้องกับที่'''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ (ฉบับวัดพระงาม)'''และ'''ตำนานเมืองพะเยา''' ว่า บริเวณเมืองหิรัญนครเงินยาง อยู่แถวๆแถบแม่น้ำสาย และดอยตุง ในเขต[[อำเภอแม่สาย]] [[จังหวัดเชียงราย]] ('''ตำนานพื้นเมืองเชียงแสน'''เป็นหลักฐานเดียวที่กล่าวว่าหิรัญนครเงินยางอยู่บริเวณเดียวกับเมืองเชียงแสน ซึ่งมีความน่าเชื่อถือน้อย เพราะหลายๆตำนานระบุว่า[[พญาแสนภู|พญาแสนพู]]สร้างเมืองเชียงแสนทับเวียงรอย)
หลังจากขึ้นครองราชเป็นกษัตริย์ พระองค์จึงทรงเปลี่ยนนาม จากเวียงปรึกษา เป็น'''เมืองหิรัญนคร ''' โดยมีศูนย์กลางอยู่แถวๆแถบแม่น้ำสาย และดอยตุง ในเขต[[อำเภอแม่สาย]] [[จังหวัดเชียงราย]]
หลังจากนั้นในสมัย[[พระเจ้าลาวเคียง]] พระองค์ได้สร้าง'''เมืองเงินยาง''' หรือ '''เมืองเชียงแสน''' หรือตรงเวียงเชียงแสนในปัจจุบัน และย้ายเข้าไปปกครองที่นั่น มีกษัตริย์ปกครองสืบเนื่องมาอีกถึง 621 ปี รวม 24 รัชกาล
 
หลังจากนั้นในสมัย[[ลาวเคียง]] กษัตริย์องค์ที่3 พระองค์ได้ทำการปรับปรุงขยายเขตแนวคูเมืองหิรัญนครเงินยางเพื่อให้เป็นเวียงใหม่ใกล้แม่น้ำละว้า และขนานนามเวียงที่ขยายใหม่นี้ว่า '''ยางสาย''' (พื้นเมืองเชียงใหม่ว่าตั้งชื่อเมือง'''ยางเงิน''') และทำการเปลี่ยนชื่อ'''แม่น้ำละว้า''' เป็น '''แม่น้ำสาย''' แสดงให้เห็นว่าสถานที่ตั้งของเมืองหิรัญนครเงินยางควรอยู่ติดน้ำแม่สายเชิงดอยตุง ไม่ได้อยู่บริเวณเมืองเชียงแสนดังที่เชื่อถือกันในปัจจุบัน <ref>[[เฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมี]].(2554)."ตำนานเมืองพะเยา".</ref> ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัยสำรวจพื้นที่ “เวียงพางคำ” ของ วรสิทธิ์ โอภาพ ที่พบว่าเวียงพางคำมีแนวคันดินแบ่งเป็น 2 เวียง โดยมีเมืองอยู่แล้ว แนวคันดินเพิ่งสร้างทีหลังเพื่อขยายเขตตัวเมือง (เวียงพางคำจึงควรเป็นหิรัญนครเงินยาง ไม่ควรเป็นเวียงสี่ตวง-เวียงพานคำของพระเจ้าพรหม)
ความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ เกิดขึ้นเมื่อ [[พญาลาวเมง]] พระบิดาของ [[พญามังราย]] สร้างเมืองเชียงราย และ พญามังรายขึ้นครองราชเป็นกษัตริย์ พระองค์ที่ 25 ของหิรัญนครเงินยางเชียงแสนในปี [[พ.ศ. 1805]] พระองค์ทรงมีแนวพระราชดำริจะรวบรวมแคว้นน้อยใหญ่ในอาณาบริเวณเดียวกันให้เป็นปึกแผ่น
 
ความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ เกิดขึ้นเมื่อ [[พญาลาวเมง]] พระบิดาของ [[พญามังราย]] สร้างเมืองเชียงราย และ พญามังรายขึ้นครองราชเป็นกษัตริย์ พระองค์ที่ 25 ของหิรัญนครเงินยางเชียงแสนลาวในปี [[พ.ศ. 1805]] พระองค์ทรงมีแนวพระราชดำริจะรวบรวมแคว้นน้อยใหญ่ในอาณาบริเวณเดียวกันให้เป็นปึกแผ่น
เมื่อพระองค์ได้ทรงขึ้นครองราช พระองค์ก็ได้โปรดให้เมืองเชียงราย เป็นราชธานีแห่งใหม่ เป็นการสิ้นสุด[[ราชวงศ์ลวจักรราช|ราชวงศ์ลวจังกราช]] แห่ง หิรัญนครเงินยาง เริ่มต้น [[ราชวงศ์มังราย]] แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]]
 
เมื่อพระองค์ได้ทรงขึ้นครองราช พระองค์ก็ได้โปรดให้สร้างเมืองเชียงรายและประทับที่นั่น เป็นราชธานีแห่งใหม่ ถือเป็นการสิ้นสุด[[ราชวงศ์ลวจักรราช|ราชวงศ์ลวจังกราชลาว]] แห่ง หิรัญนครเงินยางเชียงลาว เริ่มต้น [[ราชวงศ์มังราย]] แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]]
{{แยก|พระยาลวจักรราช}}
== พระยาลวจักรราช ==
 
{{แยก|ลาวจังราช}}
[[พระยาลวจักรราช|พระยาลวจังกราช]] นั้น คาดว่าเดิมมีอำนาจอยู่ในเมืองเชียงลาว บริเวณ[[ดอยตุง]] และ [[แม่น้ำสาย]] ต่อมาจึงได้ขยายมาสู่เมืองเงินยาง หรือเงินยัง ซึ่งตั้งอยู่ริม[[แม่น้ำโขง]]
== ลาวจังราช ==
พระองค์ มีราชบุตร ๓ พระองค์ ได้แก่ ลาวครอบ ลาวช้าง และ ลาวเก๊าแก้วมาเมือง
 
[[ลาวจังราช]] หรือ [[ลาวจง]]
พระองค์ มีราชบุตร 3 พระองค์ ได้แก่ ลาวครอบ ลาวช้าง และ ลาวเก๊าเกล้าแก้วมาเมือง
โดยให้บุตรของพระองค์ครองเมืองดังนี้
* ลาวครอบ ครอง เมือง[[เชียงของ ]]
* ลาวช้าง ครอง [[เมืองยอง]]
* ลาวเก๊าเกล้าแก้วมาเมือง ครอง เมือง[[หิรัญนครเชียงลาว]] สืบต่อมา
กษัตริย์ราชวงศ์นี้มีกษัตริย์สืบต่อมาถึง 24 องค์ ในระหว่างนั้นหลายองค์ได้มีการส่งราชบุตรของตนออกไปครองเมืองต่าง ๆ เช่น [[พะเยา]] [[เชียงของ]] [[อำเภอเชียงคำ|เชียงคำ]] [[ล้านช้าง]] [[น่าน]] ฯลฯ ดังนั้น เมืองทั้งหลายเหล่านี้จึงเป็นเครือญาติกัน
 
อนึ่ง [[ลาวจังกราช]] หรือ [[ลาวจง]] ปฐมกษัตริย์หิรัญนครเงินยางเชียงลาว เป็นคนละคนกับ [[ลาวจักราช]] [[ปู่เจ้าลาวจก]] หรือ [[ลาวจก]] หัวหน้าชาวลัวะบนดอยดินแดง ที่พระเจ้าอชุตราช กษัตริย์โยนกไชยบุรีศรีช้างแส่น ขอซื้อที่ดินดอยดินแดงเพื่อสร้างพระธาตุดอยตุง และตั้งลาวจกให้อุปัฏฐากรักษาพระธาตุดอยตุง ซึ่งคนส่วนใหญ่มักสับสนว่าเป็นคนเดียวกัน
== รายพระนามกษัตริย์ผู้ครองเมืองเชียงแสน ==
 
===ยุค รายพระนามกษัตริย์ผู้ครองเมืองหิรัญนคร=เงินยางเชียงลาว ==
# พญาลวจังกราช (ลาวจง)
# พญาลาวเก๊าแก้วมาเมือง
# พญาลาวเส้า (ลาวเสา)
# พญาลาวตัง (ลาวพัง)
# พญาลาวกลม (ลาวหลวง)
# พญาลาวเหลว
# พญาลาวกับ
# พญาลาวคิม (ลาวกิน)
 
===ยุคเมืองหิรัญนครเงินยาง===
# ลาวจังกราช(ลาวจง)
# พญาลาวเคียง
# พญาลาวเก๊าเกล้าแก้วมาเมือง
# พญาลาวคิว
# พญาลาวเทิง (ลาวติง)เสา
# พญาลาวทึง (ลาวเติง)ตั้ง
# พญาลาวคนกม
# พญาลาวสมแหลว
# พญาลาวกวก (ลาวพวก)กับ
# พญาลาวกิว (ลาวกวิน)กืน
# พญาลาวจง
# พญาจอมผาเรือง
# พญาลาวเจิง (ลาวเจื๋อง)
# พญาลาวเงินเรือง
# พญาลาวซิน (ลาวชื่น)
# พญาลาวมิง
# พญาลาวเมือง (ลาวเมิง)
# พญาลาวเมง (พระบิดา[[พญามังราย]] แห่ง[[ล้านนา]])
# [[พญามังราย]]
 
===ยุคขยายเมืองยางสาย(ยางเงิน)===
# พญาลาวเครียง(ลาวเคียง)
# พญาลาวตัง กิน(ลาวพังคริว)
# ลาวทึง
# ลาวเทิง
# พญาลาวจงตน
# ลาวโฉม
# ลาวกวัก
# ลาวกวิน
# ลาวจง (คนละคนกับลาวจังกราชหรือลาวจง ต้นราชวงศ์ลาว)
# ลาวชื่น (มีน้องชื่อ จอมผาเรือง(ขุนจอมธรรม) ซึ่งได้ไปสร้างเมืองพูกามยาว (พะเยา) และมีลูกชื่อลาวเจือง)
# ลาวเจือง (พญาเจือง) (ขุนเจือง) (พญาเจืองหาญ) (ท้าวฮุ่ง ท้าวเจือง) (ທ້າວຮຸ່ງ ທ້າວເຈືອງ) ได้รับการยกย่องว่าเป็นวีรบุรุษในตำนานสองฝั่งโขง เป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ ตีได้ดินแดนมากมาย รบชนะแกว(เวียดนาม) พญาเจืองได้รับการราชาภิเษกจากพญาห้อลุ่มฟ้าเพาพิมาน ชาวไทลื้อ ชาวลาวเทิงล้านช้าง ชาวไทยวนล้านนา ต่างอ้างว่าพญาเจืองเป็นบรรพบุรุษของพวกตน มีวรรณกรรมกล่าวขานถึงมากมาย เช่น มหากาพย์โคลงท้าวฮุ่งท้าวเจือง มีความยาวกว่าเกือบ 5,000 บท
# พญาจอมผาลาวเงินเรือง
# พญาลาวซิน (ลาวชื่น)
# ลาวมิ่ง
# ลาวเมิง
# พญาลาวเมงพลาวเมง (พระบิดา[[พญามังราย]] แห่ง[[ล้านนา]])
# [[พญามังราย]] สิ้นสุดราชวงศ์ลาว เริ่ม[[ราชวงศ์มังราย]]
(หมายเหตุ รายชื่อกษัตริย์ราชวงศ์ลาว อ้างอิงจากตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่เป็นหลัก)
== อ้างอิง ==
 
เส้น 65 ⟶ 67:
==ดูเพิ่ม==
* [[อาณาจักรล้านนา]]
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.tourismchiangrai.com/?p=chiangrai ประวัติจังหวัดเชียงราย จากเว็บไซต์ศูนย์บริหารจัดการ การท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย]
* พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. ''เล่าขาน...ตำนานสยาม.'' กรุงเทพฯ : สยามความรู้, 2554. ISBN 978-616-7110-06-6
 
[[หมวดหมู่:จังหวัดเชียงราย|ยโยนกเชียงแสน]]