ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อูว์เกอโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ}}
'''อูเกอโนต์อูว์เกอโนต์''' ({{lang-fr|huguenots}}) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนาของคริสเตียน ([[โปรเตสแตนต์]]) ฝรั่งเศสผู้นับถือ[[ลัทธิคาลวิน|ขนบปฏิรูป]] คำนี้ใช้เรียกสมาชิกคริสตจักรปฏิรูปแห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1500 ถึงประมาณปี 1800
 
คำนี้มีจุดกำเนิดในประเทศฝรั่งเศส อูเกอโนต์อูว์เกอโนต์เป็นคริสเตียนฝรั่งเศสซึ่งมาจากทางเหนือของประเทศฝรั่งเศสเป็นหลัก ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากงานเขียนของนักเทววิทยาในต้นคริสต์ทศวรรษ 1500 และผู้สนับสนุนขนบปฏิรูปของ[[นิกายโปรเตสแตนต์]] ซึ่งขัดกับประชากรส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเยอรมันนับถือ[[นิกายลูเทอแรน]]ใน[[แคว้นอาลซัส|อาลซัส]] [[จังหวัดมอแซล|มอแซล]]และ[[มงเบลียาร์]] ฮันส์ ฮิลเลอร์แบรนด์ (Hans Hillerbrand) ในสารานุกรมนิกายโปรเตสแตนต์อ้างว่าชุมชนอูเกอโนต์อูว์เกอโนต์มีประชากรมากถึงร้อยละ 10 ของประชากรฝรั่งเศสในวันก่อนการสังหารหมู่วันนักบุญบาร์โทโลมิว โดยลดลงเหลือร้อยละ 7–8 เมื่อประมาณปี 1600 และยิ่งลดลงหลังการเบียดเบียนอย่างหนักซึ่งเริ่มต้นอีกหลังพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบลโดย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส]]
 
จำนวนของอูเกอโนต์อูว์เกอโนต์สูงสุดประมาณเกือบสองล้านคนในปี 1562 โดยส่วนใหญ่กระจุกอยู่ส่วนใต้และตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส เมื่ออูเกอโนต์อูว์เกอโนต์มีอิทธิพลและแสดงออกซึ่งศรัทธาของพวกตนอย่างเปิดเผยมากขึ้น ความเป็นปรปักษ์ของคาทอลิกก็เติบโตขึ้นด้วย แม้มีการผ่อนปรนทางการเมืองและพระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนาจากพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส มีความขัดแย้งทางศาสนาหลายครั้งตามมา เรียก [[สงครามศาสนาฝรั่งเศส]] ซึ่งสู้รบกันเป็นพัก ๆ ตั้งแต่ปี 1562 ถึง 1598 อูเกอโนต์มีแฌนอูว์เกอโนต์มีแฌน ดาเบร (Jeanne d'Albret) และพระราชโอรส อนาคต[[พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส]] และเจ้ากองเด สงครามยุติด้วย[[พระราชกฤษฎีกานองซ์]] ซึ่งให้อัตตาณัติศาสนา การเมืองและทหารพอสมควรแก่อูเกอโนต์อูว์เกอโนต์
 
กบฏอูเกอโนต์อูว์เกอโนต์ในคริสต์ทศวรรษ 1620 ทำให้มีการเลิกเอกสิทธิ์ทางการเมืองและทางทหารของพวกเขา พวกเขายังคงไว้ซึ่งบทบัญญัติทางศาสนาของพระราชกฤษฎีกานองซ์จนถึงรัชกาลพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 พระองค์ค่อย ๆ เพิ่มการเบียดเบียนอูเกอโนต์อูว์เกอโนต์จนทรงตราพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบล (ปี 1685) ยุติการรับรองนิกายโปรเตสแตนต์ใด ๆ ตามกฎหมายในประเทศฝรั่งเศสและบีบให้อูเกอโนต์อูว์เกอโนต์เข้ารีตหรือหลบหนีในระลอกดราโกนาเดอ (dragonnades) รุนแรง พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงทำให้ประชากรอูเกอโนต์ฝรั่งเศสอูว์เกอโนต์ฝรั่งเศส 800,000 ถึง 900,000 คนลดเหลือ 1,000 ถึง 1,500 คน กระนั้น อูเกอโนต์อูว์เกอโนต์จำนวนเล็กน้อยยังเหลือรอดและเผชิญการเบียดเบียนต่อเนื่องมาถึง[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 15]] เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 เสด็จสวรรคตในปี 1774 ลัทธิคาลวินในฝรั่งเศสเกือบสูญสิ้นทั้งหมด การเบียดเบียนคริสเตียนยุติลงอย่างเป็นทางการด้วยพระราชกฤษฎีกาแวร์ซาย (พระราชกฤษฎีกาการยอมรับความต่างทางศาสนา) ซึ่ง[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 16]] ทรงลงพระปรมาภิไธยในปี 1787 สองปีให้หลัง [[ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง]]ปี 1789 ให้คริสเตียนได้รับสิทธิเท่าเทียมเป็นพลเมือง<ref name="Aston, 2000 pp 245-50">Aston, ''Religion and Revolution in France, 1780–1804'' (2000) pp 245–50</ref>
 
ผู้อพยพอูเกอโนต์อูว์เกอโนต์จำนวนมากอพยพไปยังรัฐโปรเตสแตนต์อย่างอังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน สวิสเซอร์แลนด์ สาธารณรัฐดัตช์ [[รัฐผู้คัดเลือกบรันเดนบูร์ก]]และ[[รัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนต]]ใน[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] [[ดัชชีปรัสเซีย]] [[หมู่เกาะแชนเนล]] ตลอดจนไอร์แลนด์ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นคาทอลิกแต่โปรเตสแตนต์ควบคุม พวกเขายังแพร่ไปยังอาณานิคมแหลมดัตช์ในแอฟริกาใต้ หมู่เกาะอินเดียตะวันออกดัตช์ แคริบเบียน นิวเนเธอร์แลนด์และอาณานิคมอังกฤษหลายแห่งในทวีปอเมริกาเหนือ ครอบครัวจำนวนน้อยไปยังรัสเซียที่นับถือ[[ออร์โธด็อกซ์]]และควิเบกที่นับถือคาทอลิก
 
ปัจจุบัน อูเกอโนต์อูว์เกอโนต์ส่วนใหญ่กลืนเข้าสู่สังคมและวัฒนธรรมต่าง ๆ แต่ชุมชนหลงเหลือกามีซาร์ (Camisards) ในเทือกเขาซีเวน (Cévennes) สมาชิกของคริสตจักรโปรเตสแตนต์รวมฝรั่งเศส สมาชิกฝรั่งเศสของคริสตจักรปฏิรูปโปรเตสแตนต์อาลซัสและลอแรนซึ่งส่วนใหญ่เป็นเยอรมัน ตลอดจนกลุ่มอูเกอโนต์อูว์เกอโนต์ในประเทศอังกฤษและออสเตรเลียยังคงความเชื่อของพวกตนและการเรียกชื่ออูเกอโนต์อูว์เกอโนต์
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 17:
[[หมวดหมู่:ศาสนาคริสต์ในประเทศฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:สงครามศาสนาของฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:อูเกอโนต์อูว์เกอโนต์| ]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา]]
{{โครงศาสนาคริสต์}}