ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
Phadungpong chantayos (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
 
{{คำพูด|"เราได้แล้วเห็นจังหวัดลาว (ล้านนา) ต่างๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสยามนั้น เคยเป็นมลรัฐอิสระมาจนกระทั่ง[[พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์]]สิ้นพระชนม์ แต่แอกของสยามนั้นเบาและอารีมาก พวกล้านนาไม่ได้ถูกสยบในสงคราม แต่เข้ามาสู่ความเกี่ยวพันกับสยามโดยความเต็มใจของตัวเอง เพื่อจะหนีการปกครองของพม่า ด้วยเหตุที่ทั้งตำแหน่งที่ตั้งและความอ่อนแอของรัฐเหล่านี้ ทำให้มีความจำเป็นที่พวกเขาจะต้องมองไปที่อาณาจักรคู่แข่งขันในภูมิภาค เพื่อขอความคุ้มครองจากอีกรัฐหนึ่ง ... ธรรมชาติได้สร้างให้ประเทศลาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสยามมากกว่าใครอื่น การคมนาคมติดต่อกับทะเลจำต้องผ่าน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และ[[แม่น้ำเจ้าพระยา#ลำน้ำสาขา|ลำน้ำสาขา]] ในขณะที่แนวทิวเขาสูงแยกดินแดนนี้ออกจากพม่า ทั้งในทางชาติพันธ์และภาษาก็เช่นกัน พวกนี้เป็นคนสยาม และไม่ใช่คนพม่า"|แม็คกิลวารี, กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว, หน้า 191{{sfn|McGilvary|1912|page=191}}}}
<blockquote>ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป</blockquote>
 
= ประเพณีและวัฒนธรรม =
ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429 - 2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป
ไทยวน มีนิสัยสันโดษ รักสงบ รักธรรมชาติ เกื้อกูลต่อกัน ผิวขาวเจือเหลือง เชื่อถือ ยกย่องในบรรพบุรุษ ศรัทธาและนับถือพระพุทธศาสนา มีความเคารพและปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ตามกฎมังรายศาตร์คนไทยวน มีภาษาพูดของตนเองเรียกว่า ฟู่อู้กำเมือง มีวรรณยุคเสียงสูง ต่ำ กลาง ซึ่งเป็นการบอกถึงอารมณ์ได้เป็นอย่างดี มีภาษาอักษรเขียนเรียกว่า ตั๋วเมือง
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไทยวน"