ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทววิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''เทววิทยา'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 4, 2548, หน้า 97</ref> ({{lang-en|theology}}) ในความหมายอย่างแคบคือวิชาว่าด้วย[[พระเจ้า]]และความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับ[[มนุษย์]] ความหมายอย่างกว้างคือการศึกษาเรื่อง[[ศาสนา]] อิทธิพลของศาสนา ธรรมชาติของความจริงทางศาสนา อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล หรือหมายถึง[[วิชาชีพ]]ที่มาจากการฝึกฝนเรียนรู้ทางด้าน[[ศาสนศึกษา]]ที่[[มหาวิทยาลัย]] สำนักเทวศาสตร์ หรือ[[เซมินารี]]<ref>[http://wordnetweb.princeton.edu/perl/webwn?o2=&o0=1&o7=&o5=&o1=1&o6=&o4=&o3=&s=theology&h=000&j=0#c theology]</ref>
 
== เทววิทยากับศาสนาพุทธ ==
คำนิยามของเทววิทยา (Theos +logos) ก็คือ การศึกษาเรื่องคำสอนในศาสนา และการศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้าและมนุษย์ เพราะฉะนั้น การศึกษาพระไตรปิฎกในพุทธศาสนา และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธเจ้าและมนุษย์ หรือที่ศาสนาพุทธ กล่าวไว้ว่า พุทธเจ้าและเวไนยสัตว์นั่นเอง
 
จึงนำระบบเทววิทยามาศึกษาศาสนาพุทธได้ อย่างลงตัว แม้คำว่า เทววิทยา อเทววิทยา นั้นจะมาสร้างความเข้าใจผิด แก่ผู้ที่ไม่ได่ศึกษาวิชาศาสนาเปรียบเทียบได้ก็จริง หากมองอีกมุมมองหนึ่ง เพราะฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่า วิชาเทววิทยา จึงรวมการศึกษาที่เป็นระบบ ทั้งที่เป็นเทววิทยาและระบบที่ไม่ใช้เทววิทยาระบบทั้หมดนั้นไว้ และจัดเป็นระบบเทววิทยาได้ลงตัว เพราะว่าวิชาเทวววิทยาเป็นศาตร์เป็นกระบวนการเท่านั้น มิได้ผูกขาดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และเป็นเพียงชื่อหน่วยตรรกวิทยาการเรียน logos เพื่อเป็นเคริ่งหมายถึงการเรียนรู้ ถึงคำสอนของศานานั้น ๆ และการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคำสอนของศาสดาผู้สอนและมนุษย์เท่านั้น
 
== อ้างอิง ==