ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระธรรมกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Farang Rak Tham (คุย | ส่วนร่วม)
Farang Rak Tham (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 56:
ในสมัย พ.ศ. 2530 วัดพระธรรมกายมีคนร่วมพิธีกรรมสำคัญโดยเฉลี่ยจำนวน 50,000 คน<ref>{{cite journal |title=The church, the monastery and the politician: Perils of entrepreneurial leadership in post-1970s Thailand ||language=ภาษาอังกฤษ |trans-title=โบสถ์ วัด และนักการเมือง โทษภัยของผู้นำนักบริหารในประเทศไทย ยุคหลัง ค.ศ.1979 |date=มิ.ย. พ.ศ. 2556|last1=Zehner|first1=Edwin|journal=Culture and Religion|volume=14|issue=2|doi=10.1080/14755610.2012.758646}}</ref> โครงการธรรมทายาทดังกล่าวเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2522 โดยมีผู้มาอบรมเพียง 60 คน แต่ในปี พ.ศ. 2529 จำนวนเพิ่มขึ้นเป็นหลายพันคน<ref>{{cite book|url=https://books.google.com/?id=doCmVaOnh_wC|title=Fundamentalisms and the state: remaking polities, economies, and militance|date=2536|publisher=University of Chicago Press|isbn=0-226-50884-6|series=The Fundamentalism Project |volume=3|location=Chicago|chapter=Buddhist Economics and Buddhist Fundamentalism in Burma and Thailand|last1=Keyes|first1=Charles F|editor1-last=Marty|editor1-first=Martin E.|editor1-link=Martin E. Marty|editor2-last=Appleby|editor2-first=R. Scott |language=ภาษาอังกฤษ}}</ref> ในปี พ.ศ. 2533 มีพระประจำรวม 260 รูป สามเณรรวม 214 รูป และเจ้าหน้าที่วัดรวม 441 คน{{sfn|เฟื่องฟูสกุล|2541 |น=35 }} ทางวัดพระธรรมกาย ริเริ่มจัดกิจกรรมอย่างกว้าง อย่างเช่น ชวนประชาชนร่วมกันบริจาคเลือด จัดอบรมปฏิบัติธรรมให้กับภาครัฐ และเอกชน<ref name="Litalien">{{cite book |title=Développement social et régime providentiel en thaïlande: La philanthropie religieuse en tant que nouveau capital démocratique |language=ภาษาฝรั่งเศษ |trans-title=ประเทศไทย การพัฒนาสังคม และคณะผู้ปกครองที่โชคดี การบริจาคทางศาสนาในรูปแบบใหม่ที่เป็นทุนประชาธิปไตย |date=ม.ค. พ.ศ. 2553|url=http://www.archipel.uqam.ca/2637/1/D1882.pdf|last1=Litalien|first1=Manuel|type=Ph.D. Thesis, [http://www.pulaval.com/produit/la-philanthropie-religieuse-en-tant-que-nouveau-capital-democratique-developpement-social-et-regime-providentiel-en-thailande ตีพิมพ์เป็นหนังสือในปี พ.ศ. 2559]|publisher=Université du Québec à Montréal}}</ref> รวมทั้งส่งเสริมงานวิชาการด้านพระพุทธศาสนา ตัวอย่างเช่นในปี พ.ศ. 2527 มีการจัดทำซีดีพระไตรปิฎกที่สามารถสืบค้นคำสำคัญได้ ซึ่งได้ร่วมมือกับ[[สมาคมบาลีปกรณ์]] ประเทศอังกฤษ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] และมหาวิทยาลัย California ณ เมือง Berkeley สหรัฐอมเริกา<ref>{{cite encyclopedia|year=2548 |title=Pali Text Society |language=ภาษาอังกฤษ |encyclopedia=Encyclopedia of Religion|publisher=Thomson-Gale |url=https://www.politicalavenue.com/PDF/ENCYCLOPEDIAS/The%20Gale%20Encyclopedia%20of%20Religion%202nd%20Ed%20Vol.%2010.pdf|edition=2|volume=10|page=6956|last==Burford |first=Grace G.|editor-last==Jones |editor-first=Lindsay|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170302051005/http://www.politicalavenue.com/PDF/ENCYCLOPEDIAS/The%20Gale%20Encyclopedia%20of%20Religion%202nd%20Ed%20Vol.%2010.pdf|archivedate=2 มี.ค. พ.ศ. 2560}}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2529 มูลนิธิธรรมกายได้รับการรับรอง จากองค์กรสหประชาชาติ<ref name="Sirikanchana" /> และเริ่มมีการประชุมการศึกษา เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อส่งเสริมสันติภาพ สำหรับกลุ่มเยวชน เมื่อปี พ.ศ. 2559 มูลนิธิธรรมกายมีฐานะเป็นองค์กรที่ปรึกษาของ[[คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ]]<ref name="Litalien" /> ในสมัยนั้นมูลนิธิธรรมกายเริ่มสร้างความสัมพันธ์กับองค์กรพุทธต่างประเทศหลายองค์กร ตัวอย่างเช่น[[{{Interlanguage link|ฟอควงซาน]]|en|Fo_Guang_Shan}}ในไต้หวันและ[[{{Interlanguage link|วัดพระพุทธเจ้า แสนพระองค์]]|en|Ten Thousand Buddhas Monastery}}ในฮ่องกง เป็นต้น{{sfn|เฟื่องฟูสกุล|2541 |น=122 }}<ref name="Sirikanchana" />
 
วัดพระธรรมกายเริ่มขยายพื้นที่มากขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมาทางวัดได้เริ่มตั้งศูนย์สาขาในประเทศสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และไต้หวัน<ref name="Forbes 2558"/>{{sfn|เฟื่องฟูสกุล|2541 |น=123 }}