ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
Dytoy (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 11:
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ให้นิยามของคำว่า "บัว" ไว้ว่า บัวเป็นคำ น. ชื่อเรียกไม้นํ้าหลายชนิดหลายสกุลและหลายวงศ์ คือ ในสกุล [[Nelumbo]] วงศ์ [[Nelumbonaceae]] มีเหง้ายาวทอดอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลม ขอบเรียบ อยู่ห่าง ๆ กัน ก้านใบและก้านดอกแข็ง มีหนามสากคาย ชูใบและดอกขึ้นพ้นผิวนํ้า เช่น [[สกุลบัวหลวง]] (N. nucifera Gaertn.) ดอกสีขาวหรือชมพู กลิ่นหอม, ปัทม์ ก็เรียก, พันธุ์ดอกป้อมสีขาว เรียก "[[สัตตบุษย์]]" พันธุ์ดอกป้อมสีชมพู เรียก "[[สัตตบงกช]]" ดอกใช้ในงานพิธีต่าง ๆ เมล็ดกินได้, ใน[[สกุลบัวสาย]] [[Nymphaea]] วงศ์ [[Nymphaeaceae]] มีเหง้าสั้นอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลม ขอบเรียบหรือจัก อยู่ชิดกันเป็นกระจุก ก้านใบและก้านดอกอ่อนไม่มีหนาม ใบลอยอยู่บนผิวนํ้า ดอกโผล่ขึ้นพ้นผิวนํ้า ผลจมอยู่ในนํ้าเรียก โตนด เช่น [[บัวสาย]] (N. lotus L. var. pubescens Hook.f. et Thomson) ขอบใบจัก ดอกสีขาวหรือแดง ก้านดอกเรียก สายบัว กินได้ พันธุ์ดอกสีขาว เรียก "[[สัตตบรรณ]]" [[บัวเผื่อน]] (N. nouchaliBurm.f.) ขอบใบเรียบ ดอกสีม่วงอ่อน, ใน [[สกุลวิคตอเรีย]] [[Victoria]] วงศ์ [[Nymphaeaceae]] เช่น [[บัวขอบกระด้ง]]หรือ[[บัววิกตอเรีย]] [V. amazonica (Poeppig) Sowerby] มีเหง้าสั้นอยู่ในตม ใบเป็นแผ่นกลมใหญ่ ขอบยกขึ้นคล้ายกระด้ง ลอยอยู่บนผิวนํ้า ใต้ใบ ก้านดอก และด้านนอกของกลีบดอกชั้นนอกมีหนามแหลม ดอกใหญ่ สีขาว หอมมาก<ref>http://www.royin.go.th/dictionary//</ref>
 
==วงศ์และสกุล==
==ประเภทของบัว==
* [[วงศ์บัวสาย]] ใบลอยบนผิวน้ำ รวม[[บัวกระด้ง]]อยู่ในวงศ์นี้ด้วยบัว” &nbsp; เป็นสัญลักษณ์แห่งความงามของไม้น้ำไทยในวงศ์ &nbsp;Nymphaeaceae&nbsp; มีความโดดเด่นด้วยดอกและใบที่เบ่งบานชูช่ออยู่เหนือน้ำเปรียบประดุจดังหญิงสาว &nbsp;ซึ่งมีที่มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษ&nbsp; จากคำว่า “Nymph”&nbsp; แปลว่า “เทพธิดาที่อยู่ในน้ำ” (A Beautiful Young Woman) '''บัว''' เป็นพืชน้ำล้มลุก ลักษณะลำต้นมีทั้งที่เป็นเหง้า ไหล หรือหัว ใบเป็นใบเดี่ยวเจริญขึ้นจากลำต้น โดยมีก้านใบส่งขึ้นมาเจริญที่ใต้น้ำ ผิวน้ำหรือเหนือน้ำ รูปร่างของใบส่วนใหญ่กลมมีหลายแบบ บางชนิดมีก้านใบบัว
 
=== วงศ์ ===
พืชน้ำในภาษาไทยที่มีชื่อสามัญว่า "'''บัว'''" พบในสองวงศ์คือ
* [[วงศ์บัวหลวง]] ''(Nelumbonaceae)'' ใบชูพ้นน้ำ
 
* [[วงศ์บัวสาย]] ''(Nymphaeaceae)'' ใบลอยบนผิวน้ำ รวม[[บัวกระด้ง]]อยู่ในวงศ์นี้ด้วย บัววงศ์นี้มีความโดดเด่นด้วยดอกและใบที่เบ่งบานชูช่ออยู่เหนือน้ำเปรียบประดุจดังหญิงสาว ซึ่งมีที่มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่า “Nymph” แปลว่า “เทพธิดาที่อยู่ในน้ำ” (A Beautiful Young Woman)
 
===สกุล ===
'''บัวแบ่งออกเป็น 3 สกุล'''ใหญ่ โดยนักพฤกษศาสตร์<ref>https://pattize.wordpress.com/พิพิธภัณฑ์บัว/ชนิดของดอกบัว//</ref> โดยนักพฤกษศาสตร์ แบ่งบัวออกเป็น 3 สกุลใหญ่คือ
[[ไฟล์:Nelumno nucifera open flower - botanic garden adelaide2.jpg|thumb|200px|ตัวอย่างสกุลบัวหลวง]]
[[ไฟล์:Nymphaea Lotusalba2006-07-06.jpg|thumb|200px|ตัวอย่างสกุลบัวสาย]]
[[ไฟล์:FloweringVictoria victoriacruziana eddy.jpg|thumb|200px|ตัวอย่างสกุลบัววิกตอเรีย]]
 
* สกุลเนลุมโบ ''(Nelumbo)'' หรือ [[สกุลบัวหลวง]]
 
– [[บัวหลวง]]  อยู่ในสกุลปทุมชาติบัวหลวง ลักษณะใบชูเหนือน้ำ เจริญเติบโตโดยมี ไหล ชอนไชไปใต้พื้นดิน พันธุ์ของบัวหลวงที่นิยมปลูกในปัจจุบัน ได้แก่ พันธุ์ฉัตรขาว ฉัตรแก้ว และฉัตรแดง บัวฉัตร หรือสัตตบงกช สีชมพู สีขาว และขาวปลายชมพู สีชมพูปลายขาว
* [[วงศ์บัวสาย]] ใบลอยบนผิวน้ำ รวม[[บัวกระด้ง]]อยู่ในวงศ์นี้ด้วยบัว” &nbsp; เป็นสัญลักษณ์แห่งความงามของไม้น้ำไทยในวงศ์ &nbsp;Nymphaeaceae&nbsp; มีความโดดเด่นด้วยดอกและใบที่เบ่งบานชูช่ออยู่เหนือน้ำเปรียบประดุจดังหญิงสาว &nbsp;ซึ่งมีที่มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษ&nbsp; จากคำว่า “Nymph”&nbsp; แปลว่า “เทพธิดาที่อยู่ในน้ำ” (A Beautiful Young Woman) '''บัว''' เป็นพืชน้ำล้มลุก ลักษณะลำต้นมีทั้งที่เป็นเหง้า ไหล หรือหัว ใบเป็นใบเดี่ยวเจริญขึ้นจากลำต้น โดยมีก้านใบส่งขึ้นมาเจริญที่ใต้น้ำ ผิวน้ำหรือเหนือน้ำ รูปร่างของใบส่วนใหญ่กลมมีหลายแบบ บางชนิดมีก้านใบบัว
 
– [[บัวฝรั่ง]]  อยู่ในสกุลปทุมชาติบัวหลวง ลักษณะคล้ายบัวหลวง ต้นอ่อน เจริญเติบโตโดยสร้างลำต้น หรือเหง้า เจริญตามแนวนอนใต้ผิวดิน ลักษณะใบมีทั้งขอบเรียบและขอบใบจัก ได้แก่บัวฝรั่งสีชมพู และสีขาว
'''บัวแบ่งออกเป็น ๓ สกุล'''<ref>https://pattize.wordpress.com/พิพิธภัณฑ์บัว/ชนิดของดอกบัว//</ref> โดยนักพฤกษศาสตร์ แบ่งบัวออกเป็น 3 สกุลใหญ่คือ
* [[สกุลเนลุมโบ]] ( [[Nelumbo]] ) หรือ ปทุมชาติ
– [[บัวหลวง]]  อยู่ในสกุลปทุมชาติ ลักษณะใบชูเหนือน้ำ เจริญเติบโตโดยมี ไหล ชอนไชไปใต้พื้นดิน พันธุ์ของบัวหลวงที่นิยมปลูกในปัจจุบัน ได้แก่ พันธุ์ฉัตรขาว ฉัตรแก้ว และฉัตรแดง บัวฉัตร หรือสัตตบงกช สีชมพู สีขาว และขาวปลายชมพู สีชมพูปลายขาว
 
* [[สกุลนิมเฟียร์]] ''( [[Nymphaea]] )'' หรือ [[อุบลชาติสกุลบัวสาย]]
– [[บัวฝรั่ง]]  อยู่ในสกุลปทุมชาติ ลักษณะคล้ายบัวหลวง ต้นอ่อน เจริญเติบโตโดยสร้างลำต้น หรือเหง้า เจริญตามแนวนอนใต้ผิวดิน ลักษณะใบมีทั้งขอบเรียบและขอบใบจัก ได้แก่บัวฝรั่งสีชมพู และสีขาว
<gallery>
ไฟล์:D85 6098 Photographed by Trisorn Triboon.jpg|thumb|สัตตบงกชสีขาวดอกตูม
ไฟล์:D85 6096 Photographed by Trisorn Triboon.jpg|thumb|สัตตบงกชขาวดอกบาน
ไฟล์:D85 6093 Photographed by Trisorn Triboon.jpg|thumb|ภาพ close up สัตตบงกชขาว
ไฟล์:D85 6069 Photographed by Trisorn Triboon.jpg|thumb|ปทุมชาติสีชมพูดอกตูม
ไฟล์:D85 6065 Photographed by Trisorn Triboon.jpg|thumb|ภาพ close up ปทุมชาติสีชมพู
ไฟล์:IMG 3955 by Peak Hora Photographer.jpg|thumb|Close up เกสรบัวหลวง
</gallery>
 
– [[บัวผัน]] [[บัวเผื่อน]] อยู่ในสกุล[[อุบลชาติ]]สกุลบัวสาย ต้นที่งอกจากเมล็ดจะเจริญตามแนวดิ่งขึ้นสู่ผิวดิน แล้วแตกก้านใบบนผิวดินดอกชูพ้นน้ำ บานในเวลาเช้าหรือกลางวัน และหุบตอนเย็น เป็นบัวชนิดที่ขยายพันธุ์ได้ช้า
* [[สกุลนิมเฟียร์]] ( [[Nymphaea]] ) หรือ[[อุบลชาติ]]
[[ไฟล์:Nymphaea Lotus.jpg|thumb|200px|บัวสาย]]
 
– [[บัวสาย]] อยู่ในสกุลอุบลชาติบัวสาย มีหัวกลมๆ สายขนาดปลายนิ้วก้อย มีขนเล็กน้อย ใบมน ขอบใบจัก ดอกบานกลางคืน และหุบเวลาเช้า
– [[บัวผัน]] [[บัวเผื่อน]] อยู่ในสกุล[[อุบลชาติ]] ต้นที่งอกจากเมล็ดจะเจริญตามแนวดิ่งขึ้นสู่ผิวดิน แล้วแตกก้านใบบนผิวดินดอกชูพ้นน้ำ บานในเวลาเช้าหรือกลางวัน และหุบตอนเย็น เป็นบัวชนิดที่ขยายพันธุ์ได้ช้า
 
– [[จงกลนี]] อยู่ในสกุลอุบลชาติบัวสาย มีเหง้าเจริญเติบโตในแนวดิ่ง เมื่อเหง้าแก่เต็มที่จะสร้างหัวเล็กๆรอบเหง้า เมื่อหัวแก่จะเจริญเป็นต้นใหม่ขึ้นมาข้างๆต้นแม่
– [[บัวสาย]] อยู่ในสกุลอุบลชาติ มีหัวกลมๆ สายขนาดปลายนิ้วก้อย มีขนเล็กน้อย ใบมน ขอบใบจัก ดอกบานกลางคืน และหุบเวลาเช้า
 
* [[สกุลวิกตอเรีย]] ''( [[Victoria]] )'' หรือ[[บัววิกตอเรีย|สกุลบัวกระด้ง]]
– [[จงกลนี]] อยู่ในสกุลอุบลชาติ มีเหง้าเจริญเติบโตในแนวดิ่ง เมื่อเหง้าแก่เต็มที่จะสร้างหัวเล็กๆรอบเหง้า เมื่อหัวแก่จะเจริญเป็นต้นใหม่ขึ้นมาข้างๆต้นแม่
 
– บัววิกตอเรีย อมาโซนิกา (Victoria amazonica) เป็นสายพันธุ์หนึ่งของ บัววิกตอเรีย ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 3 เมตร ก้านบัวยาว 7-8 เมตร พบอยู่ทั่วไปตามหนองน้ำตื้น ๆ ของ[[แม่น้ำอะเมซอน]] วันที่ออกดอกวันแรกจะมีสีขาว แต่พอเข้าวันที่สองจะเปลี่ยนเป็นสีชมพู
* [[สกุลวิกตอเรีย]] ( [[Victoria]] ) หรือ[[บัววิกตอเรีย]]
[[ไฟล์:Flowering victoria.jpg|thumb|200px|บัววิกตอเรีย]]
 
– บัววิกตอเรีย สายพันธุ์อังกฤษ (Victoria cruziana) เป็นสายพันธุ์ที่มีขนาดเล็กกว่า คือมีเส้นผ่านสูนย์กลางราว 1.5 เมตร แต่มีขอบกระด้งสูงราว 1 คืบ ออกดอกในช่วงปลาย[[ฤดูร้อน]]ต่อต้น[[ฤดูฝน]] คือ ในเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมิถุนายน
– [[บัวกระด้ง]] หรือบัววิกตอเรีย ใบมีขนาดใหญ่ กลมคล้ายกระด้ง
 
ในจำนวนบัวทั้ง 6 ชนิดนี้ทั้งหมด บัวหลวงนับเป็นบัวที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากที่สุด และเกษตรกรปลูกมากที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์ของการปลูกที่สำคัญ 2 ประการ คือ ปลูกเพื่อตัดดอกตูม ซึ่งนำไปใช้บูชาพระ และปลูกเพื่อเก็บเมล็ด ซึ่งสามารถใช้ประกอบอาหารทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน นอกจากนี้ส่วนอื่นๆของบัวหลวง ก็ยังสามารถจำหน่ายและใช้ประโยชน์อื่นๆได้ เช่น ใบแห้ง ใช้ทำยากันยุง มวนบุหรี่ ต้มเป็นยาไทยบำรุงหัวใจ แก้ไข้ และรักษาโรคตับ ใบสด ใช้ห่ออาหาร และไหลหรือราก สามารถนำมาเชื่อมเป็นอาหารหวาน มีสรรพคุณแก้ร้อนใน และระงับอาการท้องร่วง<ref>https://pattize.wordpress.com/พิพิธภัณฑ์บัว/ชนิดของดอกบัว/</ref>
 
==ลักษณะทางพฤกษศาสตร์==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/บัว"