ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันเข้าพรรษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อกวน 1 ครั้งของ 101.51.194.155 (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย 1.47.76.4.ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 73:
การเข้าจำพรรษาคือการตั้งใจเพื่ออยู่จำ ณ [[อาวาส]]ใดอาวาสหนึ่งหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่งเป็นประจำตลอดพรรษา 3 เดือน<ref>[http://www.dra.go.th/ewtadmin/ewt/dra_buddha/main.php?filename=buddha_7_3 วันเข้าพรรษา - ศาสนาพุทธ]</ref> ดังนั้นก่อนเข้าจำพรรษาพระสงฆ์ในวัดจะเตรียมตัวโดยการซ่อมแซมเสนาสนะปัดกวาดเช็ดถูให้เรียบร้อยก่อนถึงวันเข้าพรรษา<ref>[http://lib.vit.src.ku.ac.th/actonline56/khaopansa56/khaopansa56.asp แรม 1 ค่ำ เดือน 8 วันเข้าพรรษา - นิทรรศการออนไลน์]{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref>
 
้้รนาดาะาสสสสถสสรจีีพรรษาหลังเมื่อถึงวันเข้าพรรษา ส่วนใหญ่[[พระสงฆ์]]จะลงประกอบพิธีอธิษฐานจำพรรษาหลัง[[สวดมนต์ทำวัตรเย็น]]เป็นพิธีเฉพาะของพระสงฆ์ ซึ่งส่วนใหญ่จะลงประกอบพิธี ณ [[อุโบสถ]] หรือสถานที่ใดตามแต่จะสมควรภายในอาวาสที่จะจำพรรษา โดยเมื่อทำวัตรเย็นประจำวันเสร็จแล้ว[[เจ้าอาวาส]]จะประกาศเรื่อง '''วัสสูปนายิกา''' คือการกำหนดบอกให้ให้พระสงฆ์ทั้งปวงรู้ถึงข้อกำหนดในการเข้าพรรษา<ref>[http://www.rakjung.com/important-day-no205.html วันเข้าพรรษา ประวัติ และความเป็นมา - รักจัง]</ref> โดยมีสาระสำคัญดังนี้
เมื่อถึงวันเข้าพรรษา ส่วนใหญ่[[พระสงฆ์]]จะลงประกอบพิธี
้้รนาดาะาสสสสถสสรจีีพรรษาหลัง[[สวดมนต์ทำวัตรเย็น]]เป็นพิธีเฉพาะของพระสงฆ์ ซึ่งส่วนใหญ่จะลงประกอบพิธี ณ [[อุโบสถ]] หรือสถานที่ใดตามแต่จะสมควรภายในอาวาสที่จะจำพรรษา โดยเมื่อทำวัตรเย็นประจำวันเสร็จแล้ว[[เจ้าอาวาส]]จะประกาศเรื่อง '''วัสสูปนายิกา''' คือการกำหนดบอกให้ให้พระสงฆ์ทั้งปวงรู้ถึงข้อกำหนดในการเข้าพรรษา<ref>[http://www.rakjung.com/important-day-no205.html วันเข้าพรรษา ประวัติ และความเป็นมา - รักจัง]</ref> โดยมีสาระสำคัญดังนี้
 
# แจ้งให้ทราบเรื่องการเข้าจำพรรษาแก่พระสงฆ์ในอาราม
# แสดงความเป็นมาและเนื้อหาของวัสสูปนายิกาตามพระวินัยปิฏก
# กำหนดบอกอาณาเขตของวัด ที่พระสงฆ์จะรักษาอรุณ หรือรักษาพรรษาให้ชัดเจน (รักษาอรุณคือต้องอยู่ในอาวาสที่กำหนดก่อนอรุณขึ้น จึงจะไม่ขาดพรรษา)
# หากมีภิกษุผู้เป็นเสนาสนคาหาปกะ ก็ทำการสมมุติเสนาสนคาหาปกะ (เจ้าหน้าที่สงฆ์) เพื่อให้เป็นผู้กำหนดให้พระสงฆ์รูปใดจำพรรษา ณ สถานที่ใดในวัด/
 
เมื่อแจ้งเรื่องดังกล่าวเสร็จแล้ว อาจจะมีการทำสามีจิกรรม คือกล่าวขอขมาโทษซึ่งกันและกัน เพื่อเป็นการแสดงความเคารพซึ่งกันและกันระหว่างพระเถระและพระผู้น้อย และเป็นการสร้างสามัคคีกันในหมู่คณะด้วย<ref>[http://www.mcu.ac.th/site/news_in.php?group_id=1&NEWSID=9190 ผู้บริหารคณาจารย์ มจุกจยะะะะนุน้้ย้ขะบััจารสppptklttpckjk;pรมจร ทำสามีจิกรรมเทศกาลเข้าพรรษา]</ref>
 
เมื่อแจ้งเรื่องดังกล่าวเสร็จแล้ว อาจจะมีการทำสามีจิกรรม คือกล่าวขอขมาโทษซึ่งกันและกัน เพื่อเป็นการแสดงความเคารพซึ่งกันและกันระหว่างพระเถระและพระผู้น้อย และเป็นการสร้างสามัคคีกันในหมู่คณะด้วย<ref>[http://www.mcu.ac.th/site/news_in.php?group_id=1&NEWSID=9190 ผู้บริหารคณาจารย์ มจุกจยะะะะนุน้้ย้ขะบััจารสppptklttpckjk;pร ทำสามีจิกรรมเทศกาลเข้าพรรษา]</ref>
 
จากนั้นจึงทำการอธิษฐานพรรษา เป็นพิธีกรรมที่สำคัญที่สุด โดยการเปล่งวาจาว่าจะอยู่จำพรรษาตลอดไตรมาส โดยพระสงฆ์สามเณรทั้งอารามกราบพระประธาน 3 ครั้งแล้ว เจ้าอาวาสจะนำตั้งนโม 3 จบ และนำเปล่งคำอธิษฐานพรรษาพร้อมกันเป็นภาษาบาลีว่า