ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่เซกิงาฮาระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hussar Nuwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Hussar Nuwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 11:
| combatant1 = [[ตระกูลโทะโยะโตะมิ]]<br>ตระกูลในญี่ปุ่นตะวันตก
| combatant2 = [[ตระกูลโทกูงาวะ]]<br>ตระกูลในญี่ปุ่นตะวันออก
| commander1 = [[อิชิดะ มิสึนะริ]]{{Executed}}<br>[[โมะริ เทะรุโมะโตะ]]<br>[[โอทานิ โยชิสึกุ]]{{KIA}}<br>[[ชิมะ ซากอน]]{{KIA}}<br>[[ชิมะสุ โยชิฮิโระ]]<br>[[ชิมะสุ โทโยฮิสะ]]{{KIA}}<br>[[อุคิตะ ฮิเดอิเอะ]]
| commander2 = [[โทกูงาวะ อิเอยาซุ]]<br>[[อิ นาโอะมาสะ]]{{WIA}}<br>[[โฮโซคาว่า ทาดาโอกิ]]<br>[[ฮนดะ ทะดะกะสึ]]<br>[[โคมัตสึฮิเมะ]]<br>[[ฟุกุชิมะ มาซาโนริ]]<br>[[คุโระดะ โยะชิตะกะ]]
| strength1 = 81,890<ref name="Bryant25">Bryant, 1995:25.</ref>
| strength2 = 88,888<ref name="Bryant25" />
| casualties1 = เสียชีวิตประมาณ 5,000-30,000 นาย
|casualties2=ไม่มากนัก<br>อิ นาโอะมาสะ (บาดเจ็บ)
}}
'''ยุทธการที่เซกิงาฮาระ''' เป็นยุทธการแตกหักเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1600 ซึ่งกรุยทางสู่การจัดตั้งรัฐบาลโชกุนของ[[โทกูงาวะ อิเอยาซุ]] แม้เขาจะต้องใช้เวลาหลังจากนี้อีกสามปีในการรวบรวมอำนาจในตำแหน่งของเขาเหนือตระกูลโทโยโตมิและเหล่าไดเมียว เซกิงาฮาระถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นจุดเริ่มต้นอย่างไม่เป็นทางการของ[[รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ]] รัฐบาลโชกุนสุดท้ายซึ่งปกครองญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นมีสันติภาพเป็นเวลานานหลังจากยุทธการนี้