ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การดวลลูกโทษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
[[ภาพ:Philipp Lahm Petr Cech penalty kick Champions League Final 2012.jpg|thumb|250px|[[ฟิลิปป์ ลาห์ม]] ของ[[บาเยิร์นมิวนิค]] ดวลลูกโทษกับ [[ปีเตอร์ เช็ก]] ผู้รักษาประตูของ[[สโมสรฟุตบอลเชลซี|เชลซี]] ในการแข่งขัน[[ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13]] นัดชิงชนะเลิศ]]
'''การดวลลูกโทษ''' ({{lang-en|A penalty shoot-out}}) คือการยิงประตูจากจุดโทษ ใน[[กติกาฟุตบอล]] เป็นวิธีการตัดสินวิธีสุดท้ายเพื่อให้ทีมใดทีมหนึ่งผ่านเข้าสู่รอบถัดไปในการแข่งขัน[[ฟุตบอล]] (หรือตัดสินผู้ชนะการแข่งขัน) ในเกม[[การแข่งขันแบบแพ้คัดออก|แพ้คัดออก]] หากมีการเสมอกันในช่วงต่อเวลาพิเศษ การดวลจุดโทษมีความแตกต่างจาก[[การยิงลูกโทษ]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเล่นในการแข่งขัน โดยการดวลลูกโทษจะเริ่มต้นโดยผู้ยิงฝ่ายละ 5 คน สลับกันยิงลูกโทษ โดยถ้าไม่สามารถตัดสินกันได้ให้มีการยิงต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะได้ผู้ชนะ
 
'''การดวลลูกโทษ''' ({{lang-en|A penaltyPenalty shoot-out}}) คือการยิงประตูจากจุดโทษ ใน[[กติกาฟุตบอล]] เป็นวิธีการตัดสินวิธีสุดท้ายเพื่อให้ทีมใดทีมหนึ่งผ่านเข้าสู่รอบถัดไปในการแข่งขัน[[ฟุตบอล]] (หรือตัดสินผู้ชนะการแข่งขัน) ในเกม[[การแข่งขันแบบแพ้คัดออก|แพ้คัดออก]] หากมีการเสมอกันในช่วงต่อเวลาพิเศษ การดวลจุดโทษมีความแตกต่างจาก[[การยิงลูกโทษ]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเล่นในการแข่งขัน โดยการดวลลูกโทษจะเริ่มต้นโดยผู้ยิงฝ่ายละ 5 คน สลับกันยิงลูกโทษ โดยถ้าไม่สามารถตัดสินกันได้ให้มีการยิงต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะได้ผู้ชนะ
 
โดยการดวลลูกโทษที่ยาวนานที่สุด ได้รับการบันทึกไว้เป็นสถิติโลก เกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 2005 ในการแข่งขันรายการนามิเบียนคัพ ของประเทศนามิเบีย ซึ่งเป็นการแข่งขันกันระหว่าง เคเคพาเลส กับ เดอะซีวิก ผลปรากฏว่าเคเคพาเลสเอาชนะไปได้ 17–16 ซึ่งเท่ากับว่าทั้งสองสโมสรยิงจุดโทษพลาดกันถึงคนละ 15 ครั้งเลยทีเดียว<ref>{{cite web|url=http://www.smmsport.com/m/article.php?a=3587|work=Smmsport|title=จุดโทษมาราธอน|author=P.D.}}</ref>
 
ในกลางปี ค.ศ. 2017 [[สหพันธ์ฟุตบอลยุโรป]] (UFA) ได้ทดลองการใช้การยิงจุดโทษตัดสินแบบใหม่ เรียกว่า "เอบีบีเอ" (ABBA) โดยให้ผู้เล่นจากทีมสโมสรแรกยิงไปก่อน จากนั้นผู้เล่นของอีกทีมสโมสรจะทำการยิงติดต่อกันได้ถึง 2 คน จากนั้นจึงย้ายกลับมาเป็นทีมสโมสรแรกอีก 2 คน และสลับกันทีมสโมสรละ 2 คนแบบนี้ไปเรื่อยๆเรื่อย ๆ จนกว่าจะมีผู้ชนะ ซึ่งมีรูปแบบคล้ายกับการเล่นไทเบรกในกีฬา[[เทนนิส]] โดยยูฟ่าได้นำเอาวิธีการแบบนี้มาทดลองใช้ครั้งแรกใน[[ฟุตบอลอังกฤษ]] คือ [[เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์|การแข่งขันคอมมิวนิตีชีลด์]] [[เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 2017|2017]] ก่อนเปิด[[พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2017–18]] ระหว่าง [[Arsenal F.C.|อาร์เซนอล]] แชมป์[[เอฟเอคัพ]] กับ [[Chelsea F.C.|เชลซี]] แชมป์[[พรีเมียร์ลีก]] ผลการแข่งขันปรากฏว่า อาร์เซนอลเป็นฝ่ายชนะไป 4–1 หลังจากการแข่งขันในเวลาปกติ (และรวมทดเวลาบาดเจ็บไปอีก 5 นาที) เสมอกันที่ 1–1 โดยทางยูฟ่าอ้างเรื่องผลการศึกษาพบว่า ทีมสโมสรแรกที่ยิงเข้านั้นจะมีโอกาสชนะมากถึงร้อยละ 60 ดังนั้นจึงเปลี่ยนใหม่ให้การแข่งขันมีลุ้นและตื่นเต้นกว่าเดิม แต่ทว่าก็มีเสียงวิจารณ์ถึงความไม่เหมาะสม บ้างก็อ้างว่าไม่สนุก ไม่ทำให้ได้ลุ้นกันจริง<ref>หน้า 19, ''ระบบ "เอบีบีเอ" ''. "ตะลุยฟุตบอลโลก" โดย หมวดแซม. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21749: วันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560: แรม 1 ค่ำ เดือน 9 ปีระกา</ref> <ref>หน้า 23, ''น่าผิดหวัง''. "คุยนอกจอ" โดย เอกราช เก่งทุกทาง. '''มติชน'''ปีที่ 40 ฉบับที่ 14394: วันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560</ref>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{commons|Category:Penalty shootout (association football)|การดวลลูกโทษ}}
 
[[หมวดหมู่:กติกาฟุตบอล]]