ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาตารีนาแห่งบรากังซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ผลกระทบที่สำคัญทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม: แก้ไขภาษา ลดการแปลด้วยเครื่องแปลภาษา
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 31:
เซอร์จอห์น เรเรสบี (Sir John Reresby) ผู้มารับเจ้าหญิงอย่างเป็นทางการที่พอร์ตสมัท ประกาศด้วยท่าทีหวาดหวั่นอยู่บ้างว่าเจ้าหญิงแคทเทอรีนนั้น "มิมีใดแลเห็นถึงความสามารถของพระนางในการทำให้กษัตริย์ถ่ายถอนพระราชหฤทัยจากเคานท์เตสแห่งแคสเซิลเมน ผู้เป็นหญิงงามที่สุดแห่งยุคสมัย" แม้ชาวอังกฤษจะต้อนรับการมาถึงของเจ้าหญิงแต่พระเจ้าชาร์ลส์ทรงใช้เวลากับเลดี้แห่งแคสเซิลเมนถึง 6 วันเต็ม ในที่สุดพระองค์ก็เสด็จมายังพอร์ตสมัท เจ้าหญิงแคทเทอรีนผู้น่าสงสารซึ่งรอคอยอย่างอับอายก็ทรงพระประชวร พระเจ้าชาร์ลส์ได้รับการแนะนำให้รู้จักกับเจ้าสาวของพระองค์ ทว่าพระองค์ทรงตกพระทัยกับพระทนต์ที่ยื่นออกมาของเจ้าหญิงน้อยยิ่งกว่าพระเกศาสไตล์ไอบีเรียนของเจ้าหญิงที่ม้วนเกลียวฉีกแหวกออกมาทั้งสองข้างของพระเศียรแล้วห้อยลงมายังหัวไหล่ เห็นครั้งแรก พระเจ้าชาร์ลส์ทรงบอกกับพระสหายว่า "ข้านึกว่าพวกนั้นพาค้างคาวเข้ามา ไม่ใช้ผู้หญิง" กษัตริย์รีบจุมพิตพระองค์แล้วกลับเข้าห้องส่วนพระองค์ ทรงพยายามมองพระนางในแง่บวก วันรุ่งขึ้นตรัสกับเสนาบดีว่า "ใบหน้านางไม่เชิงเรียกได้ว่างามเสียที่เดียว แต่ดวงตานางสวยยิ่ง ไม่มีสิ่งใดในใบหน้านั้นแม้แต่น้อยที่อาจทำให้ถึงขั้นหมดสติได้"<ref name="test">Elenor Herman.นางในกษัตริย์, หน้า 106 - 107.</ref>
 
ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2205 ทั้งสองพระองค์ทรงอภิเษกสมรสสองพิธีคือ แบบคาทอลิก กระทำเป็นการลับ และแบบแองกลิคัน กระทำในที่สาธารณะ เจ้าหญิงแคทเทอรีนจึงได้สวมมงกุฎสมเด็จราชินีแห่งอังกฤษ,สก็อตแลนด์และไอร์แลนด์ พร้อมด้วยสินสอดจากทางราชสํานักสำนักโปรตุเกส อันประกอบด้วยเมือง[[ทานเจียร์]]และ[[บอมเบย์]] ซึ่งจะเป็นประโยช์แก่อังกฤษสำหรับกิจการใน[[อินเดีย]] ในวันอภิเษกสมรสบาร์บารา เลดี้แห่งแคสเซิลเมนได้ประท้วงโดยซักชุดชั้นในของนางซักตากไว้กลางลานพระราชวัง<ref name="test">Elenor Herman.นางในกษัตริย์, หน้า 107.</ref>
 
พระนางทรงตกหลุมรักพระสวามีทันทีเมื่อแรกพบ พระเจ้าชาร์ลส์ทรงเห็นว่าอาจทำให้พระมเหสีคลุ้มคลั่งได้เพราะทรงเคยสัญญากับบาร์บารา เลดี้แห่งแคสเซิลเมนว่าจะให้นางเป็นนางในของพระราชินี แต่ในที่สุดพระองค์ก็แนะนำให้รู้จักกัน พระราชินีแคทเทอรีนทรงประทับใจในความงามของผู้มาเยือนแต่เมื่อทรงรู้ว่าคือ บาร์บารา เลดี้แห่งแคสเซิลเมน พระนางพระพักตร์เผือด ทรุดนั้งเศร้าโศกหลั่งพระอัสสุชลและพระโลหิตไหลออกจากพระนาสิก แล้วสลบลง พระเจ้าชาร์ลส์ทรงตีความการกระทำของราชินีว่าเป็นการท้าทายและหยาบคายจึงส่งตัวข้าราชบริพารชาวโปรตุเกสกลับทั้งหมด เหลือเพียงพระราชินีชาวโปรตุเกสเท่านั้น<ref name="test">Elenor Herman.นางในกษัตริย์, หน้า 108.</ref>
บรรทัด 50:
ในพระอาการประชวรระยะสุดท้ายของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 จากการถูกลอบปลงพระชนม์ ในปีพ.ศ. 2228 พระนางทรงวิตกกังวลกับการประนีประนอมของพระองค์กับฝ่ายคาทอลิก พระนางทรงเศร้าสลดอย่างยิ่งต่อการสวรรคตของพระสวามี ต่อมาในปีเดียวกันพระนางทรงขอพระราชทานอภัยโทษแก่[[เจมส์ สกอตต์ ดยุคแห่งมอนม็อธที่ 1]]จากข้อหากบฏแผ่นดินจากเหตุการณ์[[กบฏมอนม็อธ]] ซึ่งเป็นพระบุตรนอกสมรสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2และเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อสร้างความนิยมต่อประชาชนในอังกฤษในการเป็นปฏิปักษ์ต่อพระเจ้าเจมส์ผู้เป็นโรมันคาทอลิก แต่พระนางทรงขอพระราชทานอภัยโทษไม่สำเร็จ [[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]ได้สั่งปลงพระชนม์เจมส์ สกอตต์ ผู้เป็นพระนัดดาเสีย
[[ไฟล์:Abraham Blooteling (Catherine Braganza).jpg|thumb|left|พระพันปีหลวงแคทเธอรีนแห่งบราแกนซา ในบั้นปลายพระชนม์ชีพ]]
อดีตพระราชินีแคทเอรีนยังคงประทับอยู่ในอังกฤษที่[[พระตําหนักตำหนักซัมเมอร์เซต]] จนกระทั่งรัชกาลของ[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]จบลงจากการ[[การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์]] โดย[[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ]]และ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ]]
 
เริ่มแรกทรงทำตามเงื่อนไขที่ดีกับพระเจ้าวิลเลียมและพระนางแมรี พระอิศริยยศของพระนางหมดอำนาจตามการปฏิบัติของศาสนา ซึ่งการเป็นคาทอลิกของพระนางนำไปสู่ความเข้าใจผิดและการแตกแยก พระนางทรงถูกริบทรัพย์สินและลดจำนวนคนรับใช้ พระนางทรงถูกเตือนและต่อต้านจากรั้ฐบาลว่าทรงเป็นต้นเหตุ ทำให้เกิดความไม่สงบระหว่างคาทอลิกและอังกลิตัน อดีตพระราชินีแคทเทอรีนทรงต้องเสด็จกลับโปรตุเกสในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2235
บรรทัด 57:
 
==ผลกระทบที่สำคัญทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม==
มีทฤษฎีเสนอกันว่าพระนางแคทเทอรีนทรงกำหนดวิธีการดื่ม[[ชา]]ด้วพระองค์เอง เวลาดืมชาของอังกฤษในปัจจุบันเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากอยู่แล้วในหมู่หมู่ชั้นสูงชาวโปรตุเกสสมัยนั้น ชาได้ถูกนำเข้าสู่โปรตุเกสจากเมืองท่าของโปรตุเกสในเอเชียรวมทั้งผ่านสถานีการค้าโปรตุเกสในมาเก็าและญี่ปุ่นเก็และญี่ปุ่น
การดื่มชา"High Tea"ใน เวลา 16:00 น. (บางคนก็นิยมดื่มเวลา 17:00 น. ) เดิมเป็นประเพณีโปรตุเกส พระนางแคทเธอรีนยังทรงแนะนำวิธีการดื่มแบบดั้งเดิมบนโต๊ะรับประทานอาหารของอังกฤษ
แม้ว่าบางคนได้อ้างว่าเขต [[ควีนส์]]ในนครนิวยอร์กตั้งตามพระของพระนางแคทเธอรีนแห่งบราแกนซา แต่ก็ไม่มีการกล่าวถึงพระนามของพระนางในเอกสารทางราชการของเขตในช่วง 200 ปีแรกเลย แต่ก็เป็นที่ยอมรับกันว่าเขต Queens County ตั้งชื่อตามพระนาง ส่วน Kings County (บรู๊คลินน์) ซึ่งก่อตั้งใน พ.ศ. 2226 ตั้งชื่อตามพระราชสวามีของพระองค์