ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาตารีนาแห่งบรากังซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ชีวิตของราชินี: แก้ไขภาษาเล็กน้อย โดยปรับให้ใช้ภาษากึ่งทางการ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎บั้นปลายพระชนม์ชีพ: ปรับภาษาเล็กน้อย
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 50:
ในพระอาการประชวรระยะสุดท้ายของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 จากการถูกลอบปลงพระชนม์ ในปีพ.ศ. 2228 พระนางทรงวิตกกังวลกับการประนีประนอมของพระองค์กับฝ่ายคาทอลิก พระนางทรงเศร้าสลดอย่างยิ่งต่อการสวรรคตของพระสวามี ต่อมาในปีเดียวกันพระนางทรงขอพระราชทานอภัยโทษแก่[[เจมส์ สกอตต์ ดยุคแห่งมอนม็อธที่ 1]]จากข้อหากบฏแผ่นดินจากเหตุการณ์[[กบฏมอนม็อธ]] ซึ่งเป็นพระบุตรนอกสมรสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2และเป็นโปรเตสแตนต์เพื่อสร้างความนิยมต่อประชาชนในอังกฤษในการเป็นปฏิปักษ์ต่อพระเจ้าเจมส์ผู้เป็นโรมันคาทอลิก แต่พระนางทรงขอพระราชทานอภัยโทษไม่สำเร็จ [[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]ได้สั่งปลงพระชนม์เจมส์ สกอตต์ ผู้เป็นพระนัดดาเสีย
[[ไฟล์:Abraham Blooteling (Catherine Braganza).jpg|thumb|left|พระพันปีหลวงแคทเธอรีนแห่งบราแกนซา ในบั้นปลายพระชนม์ชีพ]]
อดีตพระราชินีแคทเอรีนยังคงประทับอยู่ในอังกฤษที่[[บ้านซอมเมอร์เซ็ทพระตําหนักซัมเมอร์เซต]] จนกระทั่งรัชกาลของ[[สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]จบลงจากการ[[การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์]] โดย[[สมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ]]และ[[สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ]]
 
เริ่มแรกทรงทำตามเงื่อนไขที่ดีกับพระเจ้าวิลเลียมและพระนางแมรี พระอิศริยยศของพระนางหมดอำนาจตามการปฏิบัติของศาสนา ซึ่งการเป็นคาทอลิกของพระนางนำไปสู่ความเข้าใจผิดและการแตกแยก พระนางทรงถูกริบทรัพย์สินและลดจำนวนคนรับใช้ พระนางทรงถูกเตือนและต่อต้านจากรั้ฐบาลว่าทรงเป็นต้นเหตุ ทำให้เกิดความไม่สงบระหว่างคาทอลิกและอังกลิตัน อดีตพระราชินีแคทเทอรีนทรงต้องเสด็จกลับโปรตุเกสในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2235