ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามพิวรรธน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Jayjoan88 (คุย | ส่วนร่วม)
I've changed B.E. to A.D. to make this article to can compare to international timeline. And, I've added the new shareholder proportion.
บรรทัด 7:
| company_slogan = สัญลักษณ์แห่งการนำเสนอความแปลกใหม่ให้ชีวิต
| founder = [[เฉลิมชัย จารุวัสตร์|พลเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์]]
| foundation =[[10 มกราคม]] [[.ศ. 25021959]] (ในชื่อ "บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส")<br/>[[28 มกราคม]] [[.ศ. 25462003]] (เปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบัน)
| location = 989 อาคารสำนักงานสยามทาวเวอร์ [[ถนนพระรามที่ 1]] แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพฯ]]
| key_people = [[ธารินทร์ นิมมานเหมินท์]] ประธานกรรมการ<br/>[[ชฎาทิพย์ จูตระกูล]] กรรมการผู้อำนวยการใหญ่
บรรทัด 24:
 
== ประวัติ==
''บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด'' ก่อตั้งครั้งแรกในชื่อ ''บริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด'' เมื่อวันที่ 10 มกราคม .ศ. 25021959 เพื่อบริหารและพัฒนาที่ดินจำนวน 50 ไร่ บริเวณ[[วังสระปทุม]] เพื่อก่อสร้างโรงแรมห้าดาวระดับนานาชาติแห่งแรกของไทย คือ โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล <ref>http://www.siampiwat.com/th/group/milestones</ref> โดยมี[[เฉลิมชัย จารุวัสตร์|พลเอกเฉลิมชัย จารุวัสตร์]] เป็นผู้ก่อตั้ง โดยเริ่มแรก[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นมองเห็นถึงประโยชน์ทางการท่องเที่ยวจากการเข้ามาสร้างโรงแรมของกลุ่มทุนต่างชาติ จึงอนุมัติเงินทุนจาก[[สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล]] รวมถึงทุนจากสถาบันการเงินขนาดใหญ่ในประเทศ เพื่อลงทุนในบริษัทดังกล่าว<ref>[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=2763 42 ปี บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอลโฮเต็ลส]</ref> ต่อมา ชฎาทิพ จูตระกูล บุตรสาวของพลเอกเฉลิมชัย ได้รับช่วงต่อจากบิดาในการบริหารบริษัท
 
เมื่อโรงแรมดังกล่าวดำเนินการมาครบ 30 ปี บริษัทได้ดำริที่จะสร้างศูนย์การค้าใหม่ในพื้นที่ดังกล่าว จึงได้ยุติการดำเนินกิจการโรงแรมเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน .ศ. 25452002 หลังจากนั้นจึงดำเนินการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างเดิมทั้งหมด และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น "บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด" ซึ่งเป็นชื่อที่ได้รับพระราชทานจาก[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ในวันที่ 28 มกราคม .ศ. 25462003 โดยพื้นที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของศูนย์การค้า[[สยามพารากอน]]
 
ปัจจุบัน บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด มี [[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์|บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)]] เป็นผู้ถือหุ้นที่ใหญ่ที่สุด โดยถืออยู่ประมาณ 30 % [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ทรงถือหุ้นใหญ่เป็นอันดับที่ 2 โดยทรงถืออยู่ประมาณ 25 % อันดับที่ 3 คือ [[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] โดยถืออยู่ประมาณ 10 % และ[[ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)]] โดยถืออยู่ประมาณ 10 % นอกเหนือจากนั้นเป็นผู้ถือหุ้นรายย่อยอื่น
 
ต่อมาในวันที่ 30 พ.ค. ปี ค.ศ. 2018 [[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์|บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)]] แจ้งว่าบริษัทได้เข้าซื้อหุ้น บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด (SPW) เพิ่มจำนวน 1.87 ล้านหุ้น มูลค่า 932.85 ล้านบาท จาก [[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ทั้งหมด และผู้ถือหุ้นรายย่อยบางส่วน ทำให้มีสัดส่วนถือหุ้นรวมเป็น 42.47% จากเดิม 31.74% ขณะที่สัดส่วนของ [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] และ[[ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)]] ยังคงเป็นสัดส่วนเดิม<ref>https://www.thebangkokinsight.com/14813</ref> ทำให้มูลค่าบริษัทของสยามพิวรรธน์ในปัจจุบันอยู่ที่ราว 8,693.85 ล้านบาท ตามสัดส่วนมูลค่าของการซื้อหุ้นข้างต้นกับจำนวนหุ้นของบริษัททั้งหมด
 
== ธุรกิจของบริษัท==