ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นครวัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 13:
| Session =
| Extension =
'''นครวัด''' ({{lang-km|អង្គរវត្ត}}) เป็นหมู่ปราสาทใน[[ประเทศกัมพูชา]]และเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก<ref>{{citeDanger web|url=https://scroll.in/magazine/855228/what-the-worlds-largest-hindu-temple-complex-can-teach-indias-size-obsessed-politicians|title=What the world's largest Hindu temple complex can teach India's size-obsessed politicians}}</ref> ด้วยพื้นที่รวมกว่า= 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์)<ref name="Guinness">{{cite web|title=Largest religious structure|work=Guinness World Records|url=http://www.guinnessworldrecords.com/world-records/largest-religious-structure/|accessdate=29 April 2016}}</ref> แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยใน[[ศาสนาฮินดู]]เพื่ออุทิศแด่[[พระวิษณุ]] ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดใน[[ศาสนาพุทธ]]ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12<ref name="cyark">{{cite web|url=http://www.cyark.org/news/recycling-monuments-the-hinduismbuddhism-switch-at-angkor|title=Recycling Monuments: The Hinduism/Buddhism Switch at Angkor|author=Ashley M. Richter|date=8 September 2009|publisher=[[CyArk]]|accessdate=7 June 2015}}</ref> นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดย[[พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2]]<ref name=Higham1>{{cite book |author=Higham, C. |date= 2014 |title= Early Mainland Southeast Asia |location= Bangkok |publisher= River Books Co., Ltd. |isbn= 978-616-7339-44-3 |pages=372, 378–379}}</ref> แห่งเมือง[[ยโศธรปุระ|ยโสธรปุระ]] (ในปัจจุบันคือ[[เมืองพระนคร]]) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของ[[จักรวรรดิขแมร์|จักรวรรดิเขมร]] สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือใน[[ลัทธิไศวะ|ลัทธิไศวนิกาย]]ของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา<ref>{{cite web|title=Government ::Cambodia|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/cb.html|work=CIA World Factbook}}</ref> มีการปรากฏอยู่บน[[ธงชาติกัมพูชา|ธงชาติ]] และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว<ref>{{cite web|title=Cambodia's Angkor Wat Breaking Records for Visitors Again {{!}} News from Tourism Cambodia|url=http://www.tourismcambodia.com/news/localnews/8637/cambodias-angkor-wat-breaking-records-for-visitors-again.htm|website=Tourism of Cambodia}}</ref>
| Danger = 1992–2004
| locmapin =
| map_caption =
| map_width =
| relief = 1
| child =
| embedded =
}}
 
'''นครวัด''' ({{lang-km|អង្គរវត្ត}}) เป็นหมู่ปราสาทใน[[ประเทศกัมพูชา]]และเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก<ref>{{cite web|url=https://scroll.in/magazine/855228/what-the-worlds-largest-hindu-temple-complex-can-teach-indias-size-obsessed-politicians|title=What the world's largest Hindu temple complex can teach India's size-obsessed politicians}}</ref> ด้วยพื้นที่รวมกว่า 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์)<ref name="Guinness">{{cite web|title=Largest religious structure|work=Guinness World Records|url=http://www.guinnessworldrecords.com/world-records/largest-religious-structure/|accessdate=29 April 2016}}</ref> แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยใน[[ศาสนาฮินดู]]เพื่ออุทิศแด่[[พระวิษณุ]] ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดใน[[ศาสนาพุทธ]]ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12<ref name="cyark">{{cite web|url=http://www.cyark.org/news/recycling-monuments-the-hinduismbuddhism-switch-at-angkor|title=Recycling Monuments: The Hinduism/Buddhism Switch at Angkor|author=Ashley M. Richter|date=8 September 2009|publisher=[[CyArk]]|accessdate=7 June 2015}}</ref> นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดย[[พระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2]]<ref name=Higham1>{{cite book |author=Higham, C. |date= 2014 |title= Early Mainland Southeast Asia |location= Bangkok |publisher= River Books Co., Ltd. |isbn= 978-616-7339-44-3 |pages=372, 378–379}}</ref> แห่งเมือง[[ยโศธรปุระ|ยโสธรปุระ]] (ในปัจจุบันคือ[[เมืองพระนคร]]) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของ[[จักรวรรดิขแมร์|จักรวรรดิเขมร]] สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือใน[[ลัทธิไศวะ|ลัทธิไศวนิกาย]]ของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา<ref>{{cite web|title=Government ::Cambodia|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/cb.html|work=CIA World Factbook}}</ref> มีการปรากฏอยู่บน[[ธงชาติกัมพูชา|ธงชาติ]] และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว<ref>{{cite web|title=Cambodia's Angkor Wat Breaking Records for Visitors Again {{!}} News from Tourism Cambodia|url=http://www.tourismcambodia.com/news/localnews/8637/cambodias-angkor-wat-breaking-records-for-visitors-again.htm|website=Tourism of Cambodia}}</ref>
 
นครวัดได้รวมเอาการวางผังพื้นฐานในสถาปัตยกรรมเขมรสองแบบมาใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ได้แก่ ผังการสร้างปราสาทให้เสมือนภูเขา (ปราสาทบนฐานชั้น) และการสร้างปราสาทแบบมี[[ระเบียงคด]]ที่มีภาพสลัก การสร้างปราสาทรูปแบบนี้ได้สื่อถึง[[เขาพระสุเมรุ]] ซึ่งเป็นสถานที่ที่สถิตของเทพเทวัญในปกรณัมของศาสนาฮินดู ด้านนอกมีคูน้ำและกำแพงล้อม ความยาวรวมกว่า 3.6 กิโลเมตร โดยตัวปราสาทประกอบด้วยระเบียงคดสี่เหลี่ยมที่มีภาพสลักทั้งหมดสามชั้น แต่ละชั้นตั้งอยู่สูงกว่าชั้นล่าง ตรงกลางของปราสาทคือพระปรางค์ที่มีทั้งหมด 5 ยอด นครวัดมีความแตกต่างจากปราสาทในพระนครปราสาทอื่นๆ เนื่องจากมีการหันหน้าไปทาง[[ทิศตะวันตก]] ซึ่งนักวิชาการต่างก็มีความเห็นที่แตกต่างออกไปในเรื่องนัยยะของการสร้างในลักษณะนี้ นครวัดยังได้รับการยกย่องในด้านความงามและความกลมกลืนของตัวสถาปัตยกรรม อาทิ ภาพสลักนูนต่ำที่ใหญ่โต รวมถึงภาพเทวดาที่มีการตกแต่งตามผนังเป็นจำนวนมาก
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นครวัด"