ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของโลก: เพิ่มข้อมูลให้เป็นสากลโดยเพิ่มทีละส่วนตั้งแต่อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของโลกพร้อมอ้างอิงของวิกีพิเดีย
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูลอุทยานแห่งชาติที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกพร้อมอ้างอิงที่เชื่อถือได้
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 79:
*6. ภาคใต้
 
== พรรณไม้และสัตว์ป่าความหลากหลายทางชีวภาพที่สามารถพบเฉพาะถิ่นได้ในอุทยานแห่งชาติแต่ละแห่ง =ในประเทศไทย=
==พรรณไม้และสัตว์ป่าที่สามารถพบเฉพาะถิ่นในอุทยานแห่งชาติแต่ละแห่งของประเทศไทย==
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีความโดดเด่น เป็นศูนย์รวมสภาพผืนป่าหลายแบบในบริเวณเดียวกัน คือ ผืนป่าภาคเหนือ ผืนป่าภาคตะวันออก และผืนป่า ภาคใต้ พันธุ์ไม้หายาก เช่น จำปีเพชร ''Magnolia mediocris'' (Dandy) Figlar โมลีสยาม ''Reevesia pubescens'' Mast. var. siamensis (Craib) Anthony แตงพะเนินทุ่ง และพบ กล้วยไม้รองเท้านารีสายพันธุ์ต่างๆ จำนวนมาก รวมทั้งการค้นพบพืชพันธุ์ใหม่ๆ ที่พบครั้งแรกในโลกอยู่บ่อยครั้ง
นอกเหนือไปจากนี้ยังได้มีการสำรวจพบ[[จระเข้น้ำจืด]] ''[[Crocodylus Siamensis]]'' ที่ยังมีชีวิตและมีการขยายพันธุ์เพิ่มประชากร อยู่ในธรรมชาติ ซึ่งค้นพบและบันทึกภาพได้โดย แอล. บรู๊ซ แคคูลี นักถ่ายภาพชาวอเมริกัน หลังจากนั้นทางอุทยานจึงได้ปิดการล่องแพบริเวณต้นน้ำดังกล่าว เนื่องจากเกรงว่าจะไปรบกวนการขยายพันธุ์ของจระเข้ <ref>ดันป่า ‘แก่งกระจาน’ มรดกโลก http://www.raorakpar.org/raorakparboard/index.php?topic=40.0</ref> แมวดาว ''Prionailurus bengalensis'' หนึ่งในแมวป่าและเสืออย่างน้อย ๖ ชนิดที่มีรายงานการพบในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน กระโถนพระราม (Sapria ram Banziger & B. Hansen) สามร้อยต่อใหญ่ ''Vanilla pilifera'' Holtum สมเสร็จ ''Tapirus indicus'' สัตว์ป่าหายาก มีเอกลักษณ์ตรงลำตัวสีขาวสลับดำ ปลายหูสีขาว จมูกยาวที่เคลื่อนไหวได้ ยังคงพบกระจายอยู่ในหลายบริเวณของป่าแก่งกระจาน<ref>กลุ่มป่าแก่งกระจาน กับการผลักดันสู่การเป็นมรดกโลก http://samarn.multiply.com/journal/item/73</ref> พบมากบนสันเขาในที่สูง นกเค้าหน้าผากขาว ''Otus sagittatus''
เส้น 125 ⟶ 126:
ไฟล์:D85 6070 Lotus at National Park in Thailand Photographed by Trisorn Triboon.jpg
</gallery>
 
 
*[[กล้วยไม้]] มีตั้งแต่ กล้วยไม้ป่า, รองเท้านารี, เอื้อง ฯลฯ ตัวอย่างเช่น [[อุทยานแห่งชาติภูแลนคา]] พบกล้วยไม้หลากหลายชนิด อาทิ พบกล้วยไม้ทั้งหมด 2 วงศ์ย่อย 20 สกุล 34 ชนิด โดยเป็นกล้วยไม้ท่ไม่ทราบ สกุล 2 ชนิด วงศ์ย่อยที่มีจานวนสกุล และชนิดมากที่สุด คือ วงศ์ย่อย Epidendroideae พบ จานวน 17 สกุล 29 ชนิด สกุลที่มีจานวนชนิดมากที่สุดคือ Dendrobium (สกุลหวาย) และBulbophyllum (สกุลสิงโต) พบสกุลละ 5 ชนิด<ref>http://www.edu.nrru.ac.th/edkorat/wp-content/uploads/2016/08/การศึกษาชนิดของกล้วยไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติภูแลนคา-จังหวัดชัยภูมิ.pdf</ref> [[อุทยานแห่งชาติภูกระดึง]] พบกล้วยไม้ทั้งหมด 2 วงศ์ย่อย 36 สกุล 76 ชนิดได้แก่ Epidendroideae พบ 29 สกุล 63 ชนิด และ Orchidoideae พบ 7 สกุล 13 ชนิดแบ่งเป็น กลว้ยไม้อิงอาศัย 33 ชนิด<ref>http://www.chulapedia.chula.ac.th/images/7/73/Kora_1.pdf</ref> [[อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว]] พบกล้วยไม้จำนวน 56 สกุล 129 ชนิด สกุลที่พบมากที่สุด คือสกุลหวาย (Dendrobium Sw.) มี 30 ชนิด และพบกล้วยไม้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ 8 ชนิด ได้แก่ ผาเวียง (Dendrobium albosanguineum Lindl. ex Paxton) 􏰀กล้วยส้มสยาม (Didymoplexiella siamensis(Rolfe) Seidenf.) เอื้องคีรีวงศ์ (Didymoplexiopsis khiriwongensis Seidenf.) รองเท้านารีเหลืองปราจีน (Paphiopedilum concolor (Lindl. ex Bateman) Pfitzer) นางอั้ว (Pacteilis susanae (L.) Raf.) ช้างกระ (Rhynchostylis gigantea (Lindl.) Ridl.) สามปอยแพะ (Vanda bensonii Bateman) และเอื้องปากเป็ด (V. pumila Hook.f.)<ref>http://www.qsbg.or.th/bot/pdf/article/article-Y2552-V38-N38-23-12-2010-9-48-412.pdf</ref>
บรรทัด 140:
</gallery>
 
==สัตว์ป่าที่สามารถพบได้ในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย==
สัตว์ป่าในอุทยานแห่งชาติ ในที่นี้หมายถึง สัตว์ทุกชนิดไม่ว่า [[สัตว์บก]] [[สัตว์น้ำ]] [[สัตว์ปีก]] [[แมลง]] หรือ[[แมง]] ซึ่งโดยภาพธรรมชาติย่อมเกิดและดำรงชีวิตอยู่ในป่าหรือในน้ำและให้หมายความรวมถึงไข่ของ[[สัตว์ป่า]]เหล่านั้นทุกชนิดด้วย<ref>https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi2/subtiger/subt.htm</ref>
* [[ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย]]
 
* [[สัตว์ป่าที่พบในอุทยาน]]* [[สัตว์บก]] เริ่มตั้งแต่ [[อุทยานแห่งชาติแห่งแรก]]ของไทยคือ[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]][[นักท่องเที่ยว]]สามารถพบ [[ช้างป่า]] ระหว่างการเดินทางได้สม่ำเสมอ, นอกจากนี้อุทยานแห่งชาติแห่งอื่นๆ ยังพบ [[เสือโคร่ง]], [[กระทิง]], [[แรด]], [[ควายป่า]], [[กระซู่]], [[กรูปรี]], [[สมัน]], [[เนื้อทราย]]<ref>http://www.dnp.go.th/wildlifednp/index.php?option=com_content&view=article&id=13&Itemid=3</ref> , [[กระจง]], [[แมวดาว]], [[ไก่ฟ้าพญาลอ]], [[ไก่ฟ้าหลังขาว]], [[ละอง]], [[ละมั่ง]]<ref>https://mgronline.com/onlinesection/detail/9610000072414</ref>, [[หมาไน]] และ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] 71 ชนิด ซึ่งได้แก่ [[ลิง]][[ชะนี]] [[กวางผา]] [[หมี]], [[สมเสร็จ]], [[เลียงผา]] [[เสือดำ]], [[เสือดาว]], [[แมวลายหินอ่อน]]<ref>https://workpointnews.com/2018/03/05/พบสัตว์ป่าหายาก-อาทิ-เสื/</ref>และ[[หมูป่า]], กระต่าย, กระรอก พบอยู่ตามทุ่งหญ้ากว้างทั่ว ๆ ไป ฯลฯ
* [[สัตว์น้ำ]] เช่น [[ปลาฉลามวาฬ]], [[ปลาฉลาม]], พบวาฬบรูด้าขนาดใหญ่ 6 ตัว ปรากฏตัวใกล้[[อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง]] จ.สุราษฎร์ธานี ก่อนสลับขึ้นมาบนผิวน้ำเพื่อกินปลา<ref>https://news.thaipbs.or.th/content/272209</ref> , พะยูน [[อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม]]และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง จ.ตรัง<ref>https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_572912</ref> , [[ปลาโลมา]], [[เต่าทะเล]]ต่างๆ, [[กระเบนราหู]], [[ปลาทะเล]]ต่างๆ, [[ปลาการ์ตูน]], [[ประการัง]], ปลาดาว, ม้าน้ำ, [[หอยทะเล]]ต่างๆ, ฯลฯ
* [[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]] เช่น จรเข้ , [[กบ]]ชนิดต่างๆ, [[ปู]], [[เหี้ย]]
* [[สัตว์เลื้อยคลาน]] เช่น [[งู]], [[งูเห่า]], [[งูจงอาง]], [[งูเหลือม]]
* [[สัตว์ปีก]] [[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]] มีนกป่ามากมายกว่า 350 ชนิด, [[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] ที่นี่มีนกป่ามากกว่า 440 ชนิด, [[อุทยานแห่งชาติแม่ยม]] จากงานวิจัยความหลากหลายของชนิดของนกในอุทยานแห่งชาติแม่ยม ทั้ง 7 เส้นทาง ผลการศึกษาพบว่า พบนกทั้งสิ้น 16 อันดับ 53 วงศ์ 114 สกุล 172 ชนิด เป็นนกประจำถิ่น 134 ชนิด นก อพยพ 33 ชนิด นกอพยพผ่าน 3 ชนิด และนกอพยพมาทำรังวางไข่ 2 ชนิด เส้นทางสำรวจที่มีความหลากชนิดของ นกมากที่สุดคือ เส้นทางศึกษาธรรมชาติหล่มด้ง - จุดชมวิวทะเลหมอก สำรวจพบนก 125 ชนิด ความชุกชุมของนก แบ่งออกเป็น 4 ระดับ มีความชุกชุมมาก 35ชนิด ความชุกชุมปานกลาง 12 ชนิด ความชุกชุมน้อย 38 ชนิด ความชุกชุม น้อยมาก 40 ชนิด ความหนาแน่นของนก มากที่สุด คือ เส้นทางศึกษาธรรมชาติโป่งนำร้อน, จากการศึกษาความหลากชนิดของนกใน[[อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก]] โดย Kunsorn(2005)ด้วยวิธีสำรวจ ตามเส้นทางพบนก 177 ชนิด 40 วงศ์<ref>http://frc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/fforjournal/20180320_103753.pdf</ref> , [[นกเงือก]], [[นกสายพันธ์ต่างๆ]] เช่น [[นกยางกรอกพันธุ์ชวา]] (''Ardeola speciosa'') และ[[นกกระเต็นน้อยธรรมดา]] (''Alcedo atthis'') เป็นต้น นกที่หากินชายทุ่ง เช่น นกเด้าดินสวน (''Anthus hodgsoni'') และ[[นกเด้าดินทุ่งเล็ก]] (''Anthus rufulus'') เป็นต้นนกท่หากินตามป่าโปร่งทั่วไปเช่น [[นกขุนแผน]] (''Urocissa erythroryncha'') และนกตะขาบทุ่ง (''Coracias benghalensis'') , [[นกกะรางหัวหงอก]] (''Garrulax leucolophus'') และ[[ไก่ป่า]] (''Gallus gallus''), [[นกจับแมลงจุกดำ]] (''Hypothymis azurea'') และ[[นกแต้วแล้วธรรมดา]] (''Pitta moluccensis''), [[นกขมิ้นหัวดำใหญ่]](''Oriolusxanthornus'')และนกไต่ไม้หน้าผากำมะหย่(''Sittafrontalis''), นกขุนทอง (''Gracula religiosa'') และ[[นกขุนแผนอกสีส้ม]] (''Harpactesoreskios'')} [[อุทยานแห่งชาติเขาสก]] จากรายงานการวิจัยพบว่ามีนก ท้งหมด 145 ชนิด จาก 11 อันดับ 30 วงศ์ วงศ์ท่พบมากท่สุด คือ [[วงศ์นกปรอด]] (Family Pycnonotidae) พบจำนวน 15 ชนิด มีชนิดนกท่อยู่ในสถานภาพตามทะเบียนรายการชนิดพันธุ์ท่ถูกคุกคามของประเทศไทย ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ 2 ชนิด สถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 2 ชนิด และสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม 8 ชนิด<ref>http://dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/1128/1/ธีรพล%20ทองเพชร.pdf</ref> กระเรียน , นกยูง ฯลฯ
* [[แมลง]]หรือ[[แมง]] อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีผีเสื้ออยู่กว่า 189 ชนิด,[[แมลงปอ]], [[แมลงเต่าทอง]], [[แมงมุม]] ฯลฯ
 
 
* [[ความหลากหลายทางชีวภาพในอุทยานแห่งชาติ]]
<gallery>
ไฟล์:D85 4373 Dragonfly from Phu Langka National Park, Thailand.jpg|thumb|Dragonfly from Phu Langka National Park, Thailand
เส้น 166 ⟶ 157:
</gallery>
 
* [[สัตว์ป่าที่พบในอุทยานในประเทศไทย]]* [[สัตว์บก]] เริ่มตั้งแต่ [[อุทยานแห่งชาติแห่งแรก]]ของไทยคือ[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]][[นักท่องเที่ยว]]สามารถพบ [[ช้างป่า]] ระหว่างการเดินทางได้สม่ำเสมอ, นอกจากนี้อุทยานแห่งชาติแห่งอื่นๆ ยังพบ [[เสือโคร่ง]], [[กระทิง]], [[แรด]], [[ควายป่า]], [[กระซู่]], [[กรูปรี]], [[สมัน]], [[เนื้อทราย]]<ref>http://www.dnp.go.th/wildlifednp/index.php?option=com_content&view=article&id=13&Itemid=3</ref> , [[กระจง]], [[แมวดาว]], [[ไก่ฟ้าพญาลอ]], [[ไก่ฟ้าหลังขาว]], [[ละอง]], [[ละมั่ง]]<ref>https://mgronline.com/onlinesection/detail/9610000072414</ref>, [[หมาไน]] และ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] 71 ชนิด ซึ่งได้แก่ [[ลิง]][[ชะนี]] [[กวางผา]] [[หมี]], [[สมเสร็จ]], [[เลียงผา]] [[เสือดำ]], [[เสือดาว]], [[แมวลายหินอ่อน]]<ref>https://workpointnews.com/2018/03/05/พบสัตว์ป่าหายาก-อาทิ-เสื/</ref>และ[[หมูป่า]], กระต่าย, กระรอก พบอยู่ตามทุ่งหญ้ากว้างทั่ว ๆ ไป ฯลฯ
* [[สัตว์น้ำ]]ที่พบในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย เช่น [[ปลาฉลามวาฬ]], [[ปลาฉลาม]], พบวาฬบรูด้าขนาดใหญ่ 6 ตัว ปรากฏตัวใกล้[[อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง]] จ.สุราษฎร์ธานี ก่อนสลับขึ้นมาบนผิวน้ำเพื่อกินปลา<ref>https://news.thaipbs.or.th/content/272209</ref> , พะยูน [[อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม]]และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง จ.ตรัง<ref>https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_572912</ref> , [[ปลาโลมา]], [[เต่าทะเล]]ต่างๆ, [[กระเบนราหู]], [[ปลาทะเล]]ต่างๆ, [[ปลาการ์ตูน]], [[ประการัง]], ปลาดาว, ม้าน้ำ, [[หอยทะเล]]ต่างๆ, ฯลฯ
* [[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]] ที่พบในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย เช่น จรเข้จระเข้ , [[กบ]]ชนิดต่างๆ, [[ปู]], [[เหี้ย]]
* [[สัตว์เลื้อยคลาน]] ที่พบในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย เช่น [[งู]], [[งูเห่า]], [[งูจงอาง]], [[งูเหลือม]]
* [[สัตว์ปีก]] ที่พบในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย [[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]] มีนกป่ามากมายกว่า 350 ชนิด, [[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] ที่นี่มีนกป่ามากกว่า 440 ชนิด, [[อุทยานแห่งชาติแม่ยม]] จากงานวิจัยความหลากหลายของชนิดของนกในอุทยานแห่งชาติแม่ยม ทั้ง 7 เส้นทาง ผลการศึกษาพบว่า พบนกทั้งสิ้น 16 อันดับ 53 วงศ์ 114 สกุล 172 ชนิด เป็นนกประจำถิ่น 134 ชนิด นก อพยพ 33 ชนิด นกอพยพผ่าน 3 ชนิด และนกอพยพมาทำรังวางไข่ 2 ชนิด เส้นทางสำรวจที่มีความหลากชนิดของ นกมากที่สุดคือ เส้นทางศึกษาธรรมชาติหล่มด้ง - จุดชมวิวทะเลหมอก สำรวจพบนก 125 ชนิด ความชุกชุมของนก แบ่งออกเป็น 4 ระดับ มีความชุกชุมมาก 35ชนิด ความชุกชุมปานกลาง 12 ชนิด ความชุกชุมน้อย 38 ชนิด ความชุกชุม น้อยมาก 40 ชนิด ความหนาแน่นของนก มากที่สุด คือ เส้นทางศึกษาธรรมชาติโป่งนำร้อน, จากการศึกษาความหลากชนิดของนกใน[[อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก]] โดย Kunsorn(2005)ด้วยวิธีสำรวจ ตามเส้นทางพบนก 177 ชนิด 40 วงศ์<ref>http://frc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/fforjournal/20180320_103753.pdf</ref> , [[นกเงือก]], [[นกสายพันธ์ต่างๆ]] เช่น [[นกยางกรอกพันธุ์ชวา]] (''Ardeola speciosa'') และ[[นกกระเต็นน้อยธรรมดา]] (''Alcedo atthis'') เป็นต้น นกที่หากินชายทุ่ง เช่น นกเด้าดินสวน (''Anthus hodgsoni'') และ[[นกเด้าดินทุ่งเล็ก]] (''Anthus rufulus'') เป็นต้นนกท่หากินตามป่าโปร่งทั่วไปเช่น [[นกขุนแผน]] (''Urocissa erythroryncha'') และนกตะขาบทุ่ง (''Coracias benghalensis'') , [[นกกะรางหัวหงอก]] (''Garrulax leucolophus'') และ[[ไก่ป่า]] (''Gallus gallus''), [[นกจับแมลงจุกดำ]] (''Hypothymis azurea'') และ[[นกแต้วแล้วธรรมดา]] (''Pitta moluccensis''), [[นกขมิ้นหัวดำใหญ่]](''Oriolusxanthornus'')และนกไต่ไม้หน้าผากำมะหย่(''Sittafrontalis''), นกขุนทอง (''Gracula religiosa'') และ[[นกขุนแผนอกสีส้ม]] (''Harpactesoreskios'')} [[อุทยานแห่งชาติเขาสก]] จากรายงานการวิจัยพบว่ามีนก ท้งหมด 145 ชนิด จาก 11 อันดับ 30 วงศ์ วงศ์ท่พบมากท่สุด คือ [[วงศ์นกปรอด]] (Family Pycnonotidae) พบจำนวน 15 ชนิด มีชนิดนกท่อยู่ในสถานภาพตามทะเบียนรายการชนิดพันธุ์ท่ถูกคุกคามของประเทศไทย ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ 2 ชนิด สถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 2 ชนิด และสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม 8 ชนิด<ref>http://dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/1128/1/ธีรพล%20ทองเพชร.pdf</ref> กระเรียน , นกยูง ฯลฯ
* [[แมลง]]หรือ[[แมง]] ที่พบในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีผีเสื้ออยู่กว่า 189 ชนิด,[[แมลงปอ]], [[แมลงเต่าทอง]], [[แมงมุม]] ฯลฯ
 
* [[ผีเสื้อ]]ในอุทยานแห่งชาติที่พบในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย เช่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีผีเสื้ออยู่กว่า 189 ชนิด
<gallery>
ไฟล์:D85 5460 Butterfly from Phu Langka National Park, Thailand.jpg|thumb|ผีเสื้อที่อุทยานแห่งชาติภูลังกา, [[Thailand]]
เส้น 177 ⟶ 174:
 
 
* [[แมงมุม]]ที่พบในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย พบความหลากหลายกว่า 500 ชนิด จาก 40,300 ชนิดทั่วโลก<ref>https://www.thairath.co.th/content/337832</ref> เช่น แมงมุมฝาปิดที่อุทยานแห่งชาติแม่วงศ์<ref>https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news_670462</ref> , แมงมุมแม่หม่ายสีน้ำตาลที่อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่<ref>http://www.tnews.co.th/contents/454135</ref>
<gallery>
ไฟล์:D85 4349 Spider from Phu Langka National Park, Thailand.jpg|thumb|แมงมุมในอุทยานแห่งชาติภูลังกา, Thailand]]
เส้น 192 ⟶ 189:
</gallery>
 
* [[แมลงปอ]]ที่พบในอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย
<gallery>
ไฟล์:D85 4376 Dragonfly from Phu Langka National Park, Thailand.jpg|thumb|Dragonfly from Phu Langka National Park, [[Thailand]]
เส้น 198 ⟶ 195:
</gallery>
 
==ความสวยงามของพระอาทิตย์ตกจากอุทยานแห่งชาติต่างๆในประเทศไทย==
<gallery>
ไฟล์:D85 4998 Sunset from Phu Langka National Park, Thailand.jpg|thumb|พระอาทิตย์ตกที่อุทยานแห่งชาติภูลังกา
เส้น 210 ⟶ 207:
</gallery>
 
==อุทยานแห่งชาติที่สำคัญของโลก==
 
===อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของโลก===
[[อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน]]เป็น[[อุทยานแห่งชาติ]]แห่งแรกของสหรัฐอเมริกาและที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐ มีเนื้อที่มากกว่า 2 ล้านเอเคอร์ คือประมาณ 43,750 ตารางไมล์ หรือ 8,992 ตารางกิโลเมตร<ref>[[อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน]]</ref> โดยเป็นอุทยานแห่งชาติอเมริกันที่ตั้งอยู่ในไวโอมิงมอนแทนาและไอดาโฮ เป็นที่ยอมรับโดยรัฐสภาสหรัฐฯและลงนามในกฎหมายเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ในปี พ.ศ.2415 เยลโลว์สโตนเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของสหรัฐฯและยังถือได้ว่าเป็น[[อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของโลก]]<ref>https://en.wikipedia.org/wiki/Yellowstone_National_Park</ref>
[[File:YellowstonefallJUN05.JPG|thumb|right|upright=1.2|อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน]]
 
==อุทยานแห่งชาติที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก==
หลายท่านคงเข้าใจว่าอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตนเป็นอุทยานแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่แท้ที่จริงแล้ว '''อุทยานแห่งชาติ Northeast Greenland''' ที่อยู่บริเวณเหนือสุดของโลก ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรีนแลนด์ทั้งหมด เป็น '''อุทยานแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลก''' เป็นที่อยู่อาศัยของหมีขั้วโลก วอลรัส สุนัขจิ้งจอก นกฮูกหิมะ วัวชะมด และสัตว์นานาสายพันธุ์ '''มีพื้นที่กว้างใหญ่กว่าเยลโลว์สโตน ถึง 77 เท่า ด้วยพื้นที่กว่า 375,000 ตารางไมล์ 927,000 ตารางกิโลเมตร หรือเทียบเท่ากับกว่า 163 ประเทศรวมกัน<ref>https://sites.google.com/site/chetmomol/northeast-greenland-national-park</ref><ref>https://en.wikipedia.org/wiki/Northeast_Greenland_National_Park</ref>
 
 
อุทยานแห่งชาติที่มีนักท่องเที่ยวไปเยือนปีละจำนวนมาก สิบอันดับที่ถูกจัดให้เป็นอุทยานแห่งชาติยอดนิยม<ref>https://discovercorps.com/blog/top-10-national-parks-in-the-world/</ref> คือ