ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎สัตว์ป่าที่สามารถพบได้ในอุทยานแห่งชาติ: เพิ่มข้อมูลสัตว์ป่าและอ้างอิง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 71:
<gallery>
ไฟล์:Kaeng Krachan.jpg|'''อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน'''
Fileไฟล์:ไกลลับตา อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์.jpg|'''อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์'''
Fileไฟล์:ใจกลางทุ่ง.jpg|'''อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง'''
Fileไฟล์:แจ้ซ้อน-3.jpg|'''อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน'''
Fileไฟล์:เส้นทางสู่ยอด ภูสอยดาว.jpg|'''อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว'''
Fileไฟล์:เมื่อแสงสะท้อนกับแม่น้ำ.jpg|'''อุทยานแห่งชาติแม่ปิง'''
Fileไฟล์:ตะวันลับฟ้า อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช.jpg|'''อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช'''
</gallery>
 
บรรทัด 97:
*ไม้บก หรือ ต้นไม้ มีตั้งแต่ [[ต้นไทร]], [[ต้นตะแบก]], [[ต้นสักทอง]], [[ต้นอินทนิล]], [[ต้นคูน]], [[ต้นแดง]], [[ต้นพยอม]], [[ต้นตะเคียน]], [[ต้นยางนา]], [[เฟิร์น]], ฯลฯ
<gallery>
Fileไฟล์:อาทิตย์อัสดงที่ยอดภูกระดึง.jpg|thumb|อาทิตย์อัสดงที่ยอดภูกระดึง
Fileไฟล์:Phu Soi Dao National Park (5).jpg|อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว
Fileไฟล์:Colors of Thai Forest.jpg|สีสันของพรรณไม้ อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง
ไฟล์:D85 5263 Blue Flower from Phu Langka National Park, Thailand.jpg|thumb|พยับหมอก Blue Flower from Phu Langka National Park, [[Thailand]]
ไฟล์:D85 5756 Pink Flower from the road side to Phu Langka National Park, Thailand.jpg|thumb|Pink Flower from the road side to Phu Langka National Park, [[Thailand]]
บรรทัด 114:
 
 
*[[กล้วยไม้]] มีตั้งแต่ กล้วยไม้ป่า, รองเท้านารี, เอื้อง ฯลฯ ตัวอย่างเช่น [[อุทยานแห่งชาติภูแลนคา]] พบกล้วยไม้หลากหลายชนิด อาทิ พบกล้วยไม้ทั้งหมด 2 วงศ์ย่อย 20 สกุล 34 ชนิด โดยเป็นกล้วยไม้ท่ีไม่ทราบท่ไม่ทราบ สกุล 2 ชนิด วงศ์ย่อยที่มีจานวนสกุล และชนิดมากที่สุด คือ วงศ์ย่อย Epidendroideae พบ จานวน 17 สกุล 29 ชนิด สกุลที่มีจานวนชนิดมากที่สุดคือ Dendrobium (สกุลหวาย) และBulbophyllum (สกุลสิงโต) พบสกุลละ 5 ชนิด<ref>http://www.edu.nrru.ac.th/edkorat/wp-content/uploads/2016/08/การศึกษาชนิดของกล้วยไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติภูแลนคา-จังหวัดชัยภูมิ.pdf</ref> [[อุทยานแห่งชาติภูกระดึง]] พบกล้วยไม้ทั้งหมด 2 วงศ์ย่อย 36 สกุล 76 ชนิดได้แก่ Epidendroideae พบ 29 สกุล 63 ชนิด และ Orchidoideae พบ 7 สกุล 13 ชนิดแบ่งเป็น กลว้ยไม้อิงอาศัย 33 ชนิด<ref>http://www.chulapedia.chula.ac.th/images/7/73/Kora_1.pdf</ref> [[อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว]] พบกล้วยไม้จำนวน 56 สกุล 129 ชนิด สกุลที่พบมากที่สุด คือสกุลหวาย (Dendrobium Sw.) มี 30 ชนิด และพบกล้วยไม้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ุพันธ์ 8 ชนิด ได้แก่ ผาเวียง (Dendrobium albosanguineum Lindl. ex Paxton) 􏰀กล้วยส้มสยาม (Didymoplexiella siamensis(Rolfe) Seidenf.) เอื้องคีรีวงศ์ (Didymoplexiopsis khiriwongensis Seidenf.) รองเท้านารีเหลืองปราจีน (Paphiopedilum concolor (Lindl. ex Bateman) Pfitzer) นางอั้ว (Pacteilis susanae (L.) Raf.) ช้างกระ (Rhynchostylis gigantea (Lindl.) Ridl.) สามปอยแพะ (Vanda bensonii Bateman) และเอื้องปากเป็ด (V. pumila Hook.f.)<ref>http://www.qsbg.or.th/bot/pdf/article/article-Y2552-V38-N38-23-12-2010-9-48-412.pdf</ref>
<gallery>
ไฟล์:D85 4579 Plant of Thailand Photographed by Trisorn Triboon.jpg|thumb|กล้วยไม้ในอุทยานแห่งชาติ
บรรทัด 134:
* [[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]] เช่น จรเข้ , [[กบ]]ชนิดต่างๆ, [[ปู]], [[เหี้ย]]
* [[สัตว์เลื้อยคลาน]] เช่น [[งู]], [[งูเห่า]], [[งูจงอาง]], [[งูเหลือม]]
* [[สัตว์ปีก]] [[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]] มีนกป่ามากมายกว่า 350 ชนิด, [[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] ที่นี่มีนกป่ามากกว่า 440 ชนิด, [[อุทยานแห่งชาติแม่ยม]] จากงานวิจัยความหลากหลายของชนิดของนกในอุทยานแห่งชาติแม่ยม ทั้ง 7 เส้นทาง ผลการศึกษาพบว่า พบนกทั้งสิ้น 16 อันดับ 53 วงศ์ 114 สกุล 172 ชนิด เป็นนกประจำถิ่น 134 ชนิด นก อพยพ 33 ชนิด นกอพยพผ่าน 3 ชนิด และนกอพยพมาทำรังวางไข่ 2 ชนิด เส้นทางสำรวจที่มีความหลากชนิดของ นกมากที่สุดคือ เส้นทางศึกษาธรรมชาติหล่มด้ง - จุดชมวิวทะเลหมอก สำรวจพบนก 125 ชนิด ความชุกชุมของนก แบ่งออกเป็น 4 ระดับ มีความชุกชุมมาก 35ชนิด ความชุกชุมปานกลาง 12 ชนิด ความชุกชุมน้อย 38 ชนิด ความชุกชุม น้อยมาก 40 ชนิด ความหนาแน่นของนก มากที่สุด คือ เส้นทางศึกษาธรรมชาติโป่งนำ้ร้อนนำร้อน, จากการศึกษาความหลากชนิดของนกใน[[อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก]] โดย Kunsorn(2005)ด้วยวิธีสำรวจ ตามเส้นทางพบนก 177 ชนิด 40 วงศ์<ref>http://frc.forest.ku.ac.th/frcdatabase/bulletin/fforjournal/20180320_103753.pdf</ref> , [[นกเงือก]], [[นกสายพันธ์ต่างๆ]] เช่น [[นกยางกรอกพันธุ์ชวา]] (''Ardeola speciosa'') และ[[นกกระเต็นน้อยธรรมดา]] (''Alcedo atthis'') เป็นต้น นกที่หากินชายทุ่ง เช่น นกเด้าดินสวน (''Anthus hodgsoni'') และ[[นกเด้าดินทุ่งเล็ก]] (''Anthus rufulus'') เป็นต้นนกท่ีท่หากินตามป่าโปร่งทั่วไปเช่น [[นกขุนแผน]] (''Urocissa erythroryncha'') และนกตะขาบทุ่ง (''Coracias benghalensis'') , [[นกกะรางหัวหงอก]] (''Garrulax leucolophus'') และ[[ไก่ป่า]] (''Gallus gallus''), [[นกจับแมลงจุกดำ]] (''Hypothymis azurea'') และ[[นกแต้วแล้วธรรมดา]] (''Pitta moluccensis''), [[นกขมิ้นหัวดำใหญ่]](''Oriolusxanthornus'')และนกไต่ไม้หน้าผากำมะหย่ีหย่(''Sittafrontalis''), นกขุนทอง (''Gracula religiosa'') และ[[นกขุนแผนอกสีส้ม]] (''Harpactesoreskios'')} [[อุทยานแห่งชาติเขาสก]] จากรายงานการวิจัยพบว่ามีนก ท้ังหมดท้งหมด 145 ชนิด จาก 11 อันดับ 30 วงศ์ วงศ์ท่ีพบมากท่ีสุดท่พบมากท่สุด คือ [[วงศ์นกปรอด]] (Family Pycnonotidae) พบจํานวนจำนวน 15 ชนิด มีชนิดนกท่ีอยู่ท่อยู่ในสถานภาพตามทะเบียนรายการชนิดพันธุ์ท่ีท่ถูกคุกคามของประเทศไทย ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ 2 ชนิด สถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ 2 ชนิด และสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม 8 ชนิด<ref>http://dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/1128/1/ธีรพล%20ทองเพชร.pdf</ref>
* [[แมลง]]หรือ[[แมง]] อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีผีเสื้ออยู่กว่า 189 ชนิด,[[แมลงปอ]], [[แมลงเต่าทอง]], [[แมงมุม]] ฯลฯ