ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวคลีโอไทด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7742722 สร้างโดย 2405:9800:BC20:240C:8002:7CDB:35F8:4781 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 24:
}}</ref> นิวคลีโอไทด์ มีโครงสร้างที่อดทนต่อการแตกตัวซึ่งเป็นประโยชน์ในการสามารถนำมาใช้ได้ใหม่ ในการสังเคราะห์ นิวคลีโอไทด์ตัวใหม่ การสังเคราะห์ในห้องทดลอง กลุ่มป้องกันอาจถูกนำมาใช้ [[nucleoside]] บริสุทธิ์ ถูกป้องกันเพื่อสร้าง [[phosphoramidite]] ซึ่งสามารถทดแทนสิ่งที่หาไม่ได้ในธรรมชาติ หรือ เพื่อ [[สังเคราะห์ oligonucleotide|การสังเคราะห์ oligonucleotide]]
=== Pyrimidine ribonucleotides ===
[[ไฟล์:Nucleotides syn2.png|thumb|right|400px|<div style="border-width: 0px; border-bottom: 1px solid black; text-align: left;">'''การสังเคราะห์ [[Uridine monophosphate|UMP]]'''.</div>อธิบายสี <span style="font-weight: bold;"><span style="color: blue;">[[เอ็นไซม์]]</span>, <span style="color: rgb(219,155,36);">[[โคเอ็นไซม์์ไซม์]]</span>, <span style="color: rgb(151,149,45);">ผลิตภัณฑ์ตั้งต้น</span>, <span style="color: rgb(128,0,0);">inorganic molecules</span> </span>]]
การสังเคราห์ Pyrimidine nucleotide เริ่มด้วยการสร้าง carbamoyl phosphate จาก [[glutamine]] และ CO<sub>2</sub>. ปฏิกิริยา cyclisation ระหว่าง carbamoyl phosphate ทำปฏิกิริยากับ aspartate ให้ orotate ในขั้นตอนย่อยๆ Orotate ทำปฏิกิริยากับ [[Phosphoribosyl pyrophosphate|5-phosphoribosyl α-diphosphate]] (PRPP) ให้ orotidine monophosphate (OMP) ซึ่งก็คือ decarboxylated เพื่อใช้สร้าง uridine monophosphate (UMP) ซึ่งมาจาก UMP ที่ pyrimidine nucleotide ตัวอื่นๆส่งต่อมา UMP เป็นตัว phosphorylated สำหรับ uridine triphosphate (UTP) ทำโดยผ่านปฏิกิริยากับ ATP 2 ขั้นตอน Cytidine monophosphate (CMP) ซึ่งได้รับมาจากการเปลี่ยน UTP ไปเป็น cytidine triphosphate (CTP) ด้วยปฏิกิริยาย่อยที่ทำให้เสีย 2 ฟอสเฟต<ref>{{cite journal
| last = Jones
บรรทัด 65:
|}
 
[[ไฟล์:Nucleotides syn1.png|thumb|right|400px|การสังเคราะ์สังเคราะ IMP อธิบายสีต่างๆ <span style="font-weight: bold;"><span style="color: blue;">[[เอ็นไซม์]]</span>, <span style="color: rgb(219,155,36);">[[โคเอ็นไซม์]]</span>, <span style="color: rgb(151,149,45);">ชื่อผลิตภัณฑ์ตั้งต้น</span>, <span style="color: rgb(227,13,196);">[[เมทัลไอออน]]</span>, <span style="color: rgb(128,0,0);">inorganic molecules</span> </span>]]
 
กระบวนการสังเคราะห์ใหม่ (อังกฤษ :[[de novo synthesis]]) ของ [[purine nucleotides]] ที่แสดงในรูปนี้ แสดงให้เห็น กระบวนการสร้าง purine ring กระทำโดย pathway 10 ขั้นตอน เพื่อเสริมกิ่งของ ผลิตภัณฑ์ระหว่างกลาง (intermediate) คือ [[Inosine monophosphate|IMP]] ซึ่งเป็น nucleotide ที่มีพื้นฐานจาก [[hypoxanthine]] สำหรับ [[Adenosine monophosphate|AMP]] และ [[Guanosine monophosphate|GMP]] เป็นกระบวนการย่อยของการสังเคราะห์ จากผลิตภัณฑ์ระหว่างกลาง ผ่าน pathway 2 ขั้นตอน ที่แยกออกจากกัน ดังนั้น purine [[Moiety (chemistry)|moieties]] เป็นผลิตภัณฑ์ขั้นต้นส่วนหนึ่งของ [[ribonucleotides]] นอกเหนือจาก [[Freebase (chemistry)|free bases]]
บรรทัด 89:
* [[DNA]]
* [[RNA]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:พันธุศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:กรดนิวคลีอิก]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}