ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมทรัพยากรธรณี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| ชื่อหน่วยงาน = กรมทรัพยากรธรณี
| ชื่อในภาษาแม่_1 = Department of Mineral Resources
| สัญลักษณ์ =
| ชื่อในภาษาแม่_2 =
| สัญลักษณ์_กว้าง =
| ชื่อในภาษาแม่_ท =
| สัญลักษณ์_บรรยาย =
| สัญลักษณ์_กว้าง =
| สัญลักษณ์_บรรยาย =
| ตรา = ตรากรมทรัพยากรธรณี.png
| ตรา_กว้าง = 150px
เส้น 17 ⟶ 15:
| สืบทอดจาก_1 = กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา
| สืบทอดจาก_2 =
| สืบทอดจาก_3 =
| สืบทอดจาก_4 =
| สืบทอดจาก_5 =
| สืบทอดจาก_6 =
| วันยุบเลิก =
| สืบทอดโดย =
เส้น 28 ⟶ 22:
| longd= |longm= |longs= |longEW=
| รหัสภูมิภาค =
| บุคลากร =
| งบประมาณ = 655.4386217,198,400 ล้านบาท <small>([[พ.ศ. 25592561]])</small><ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/25582560/A/091101/171.PDF "พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 25592561"]. เล่ม 132134 ตอนที่ 91101 หน้า 7 วันที่ 252 กันยายนตุลาคม 2558พ.ศ. 2560.</ref>
| หัวหน้า1_ชื่อ = [[ดร.]]ทศพร นุชอนงค์<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/052/9.PDF "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือน"]. เล่ม 133 ตอนพิเศษ 52ง หน้า 9 วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2559.</ref>
| รัฐมนตรี1_ชื่อ =
| รัฐมนตรี1_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี2_ชื่อ =
| รัฐมนตรี2_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี3_ชื่อ =
| รัฐมนตรี3_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี4_ชื่อ =
| รัฐมนตรี4_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี5_ชื่อ =
| รัฐมนตรี5_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี6_ชื่อ =
| รัฐมนตรี6_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี7_ชื่อ =
| รัฐมนตรี7_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี8_ชื่อ =
| รัฐมนตรี8_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี9_ชื่อ =
| รัฐมนตรี9_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี10_ชื่อ =
| รัฐมนตรี10_ตำแหน่ง =
| หัวหน้า1_ชื่อ = [[ดร.]]ทศพร นุชอนงค์<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/052/9.PDF</ref>
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = อธิบดี
| หัวหน้า2_ชื่อ = สมหมาย เตชวาล
เส้น 59 ⟶ 33:
| ต้นสังกัด = [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)|กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
| กำกับดูแล =
| ลูกสังกัด_1 = ดูหัวข้อ [[#ส่วนราชการภายใน|ส่วนราชการภายใน]]
| เว็บไซต์ = http://www.dmr.go.th
| ลูกสังกัด_2 =
| ลูกสังกัด_3 =
| ลูกสังกัด_4 =
| ลูกสังกัด_5 =
| ลูกสังกัด_6 =
| ลูกสังกัด_7 =
| ลูกสังกัด_8 =
| ลูกสังกัด_9 =
| เอกสารหลัก_1=
| เอกสารหลัก_2=
| เอกสารหลัก_3=
| เอกสารหลัก_4=
| เอกสารหลัก_5=
| เอกสารหลัก_6=
| เว็บไซต์ = http://www.dmr.go.th/main.php?filename=index
| หมายเหตุ =
| แผนที่ =
เส้น 80 ⟶ 40:
| แผนที่_บรรยาย =
}}
 
'''กรมทรัพยากรธรณี''' เป็นหน่วยงานระดับกรม ในสังกัด[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
 
== ประวัติ ==
[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 5]] ได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศตั้ง [['''กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา]]โลหกิจแลภูมิ์วิทยา''' ขึ้นในสังกัด[[กระทรวงเกษตราธิการ]] เมื่อวันที่ 1 มกราคม [[รัตนโกสินทร์ศก|ร.ศ. 110]] 110 ([[พ.ศ. 2434]]) มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับแร่ โลหะธาตุ การประทานบัตรและสัญญาการแร่โลหะธาตุ และภูมิวิทยา (ธรณีวิทยา)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/051/461.PDF "ประกาศตั้งกรมราชโลหกิจแลภูมิ์วิทยา"]. เล่ม 8 หน้า 461-462, วันที่ 1 มกราคม ร.ศ. 110 (พ.ศ. 2434).</ref> และต่อมาได้ย้ายสังกัดไปขึ้นกับ[[กระทรวง]]ต่าง ๆ ตามยุคสมัยอีก 63 กระทรวง คือ กระทรวงเกษตราธิราช [[กระทรวงมหาดไทย]] (พ.ศ. 2475)<ref>16 กุมภาพันธ์ 2560, [https://www.opsmoac.go.th/km-km_org_center-preview-391991791957 "ย้อนรอยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์"], การจัดการความรู้ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.</ref> [[กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ]] และ[[กระทรวงเศรษฐการ]] [[กระทรวงอุตสาหกรรม]]เมื่อ และพ.ศ. 2506 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''กรมทรัพยากรธรณี''' สังกัด[[กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ]] โดย ได้เปลี่ยนชื่อเป็น<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2506/A/051/21.PDF "พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมทรัพยากรธรณี]] เมื่อครั้งสังกัดกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ พ.ศ. 2506"]. เล่ม 80 ตอนที่ 51 หน้า 21-24 วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2506.</ref> ต่อมาย้ายไปสังกัด[[กระทรวงอุตสาหกรรม]] ภายหลังจากการปฏิรูประบบราชการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม [[พ.ศ. 2545]] กรมทรัพยากรธรณี ได้ย้ายมาสังกัด[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
 
== อำนาจและหน้าที่ ==
=== ก่อนการปฏิรูประบบราชการ ===
กรมทรัพยากรธรณี ภายใต้สังกัด[[กระทรวงอุตสาหกรรม]] มีภารกิจหลัก 4 ด้าน
# สำรวจข้อมูล[[ธรณีวิทยา]]และ[[ทรัพยากรธรณี]]
# ขุดเจาะ[[น้ำบาดาล]] อนุญาต และกำกับดูแลกิจการน้ำบาดาล ตามพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520 และพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
# อนุญาต[[อาชาญาบัตรอาชญาบัตรสำรวจแร่]] [[ประทานบัตรทำเหมืองแร่]] และกำกับดูแลด้านกิจการ[[เหมืองแร่]] ตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไข รวมถึงพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
# ให้[[สัมปทาน]] และกำกับดูแลด้านกิจการ[[ปิโตรเลียม]] ตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
 
=== หลังการปฏิรูประบบราชการ ===
กรมทรัพยากรธรณี ถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มภารกิจตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.. 2545 เป็น 4 กรม<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00102282.PDF "พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545"]. เป็นเล่ม 4119 กรมตอนที่ 99ก หน้า 14-34 วันที่ 2 ตุลาคม 2545.</ref> คือ
# [[กรมทรัพยากรธรณี]] สังกัด[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
# [[กรมทรัพยากรน้ำบาดาล]] สังกัด[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]
# [[กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่]] สังกัด[[กระทรวงอุตสาหกรรม]]
# [[กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ]] สังกัด[[กระทรวงพลังงาน]]
 
== ส่วนราชการภายใน ==
{| class="wikitable" width=100%
|+ ส่วนราชการภายในกรมทรัพยากรธรณี<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/051/6.PDF "กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2561"]. เล่ม 135 ตอนที่ 51ก หน้า 6-12 วันที่ 20 กรกฎาคม 2561.</ref>
|-
! ที่
! width=18% | ส่วนราชการ
! หน้าที่
|-
| 1
| สำนักงานเลขานุการกรม
| งานสารบรรณ, งานช่วยอำนวยการ, งานเลขานุการ, ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลนโยบายและผลงานของกรม, จัดระบบงาน, บริหารงานบุคคล, การเงิน/การบัญชี/งบประมาณ/พัสดุ และปฏิบัติงานอื่น ๆ
|-
| 2
| กองคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์
| ดูแลการคุ้มครอง[[ซากดึกดำบรรพ์]] บริหารจัดการแหล่งซากดึกดำบรรพ์ เสนอแนะนโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองแหล่งและซากดึกดำบรรพ์ กำหนดมาตรฐานและรวบรวมหลักฐานอ้างอิงซากดึกดำบรรพ์
|-
| 3
| กองทรัพยากรแร่
| สำรวจ เก็บข้อมูล ประเมินศักยภาพการพัฒนาแหล่งแร่ ศึกษาวิจัยและทำแผนที่[[ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย#ทรัพยากรแร่ธาตุ|ทรัพยากรแร่]] จัดเก็บตัวอย่างแร่เพื่อการอ้างอิงและศึกษา ปฏิบัติงานในฐานะเลขานุการของ "คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ" และคณะกรรมการอื่น
|-
| 4
| กองเทคโนโลยีธรณี
| ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการสำรวจและศึกษาวิจัยทาง[[ธรณีฟิสิกส์]] [[ธรณีเคมี]] ธรณีเทคนิค แปลความหมายทางธรณีวิทยาจากข้อมูลระยะไกล (เช่นทางอากาศ) เจาะสำรวจ เพื่อสนับสนุนงานด้านธรณีวิทยา [[วิศวกรรมธรณี|ธรณีวิศวกรรม]] และทรัพยากรธรณี, พัฒนาฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรธรณี และพื้นที่อันควรอนุรักษ์ทางธรณีวิทยา
|-
| 5
| กองธรณีวิทยา
| สำรวจ เก็บข้อมูล ผลิตข้อมูล ศึกษาวิจัยด้านธรณีวิทยา จัดทำแผนที่ธรณีวิทยาและกำหนดมาตรฐานทางธรณีวิทยาของประเทศ จัดเก็บหลักฐานทางธรณีวิทยาเพื่อการอ้างอิงและการศึกษา จัดการด้านอนุรักษ์ เช่น แหล่งท่องเที่ยวทางธรณีวิทยา อุทยานธรณี บริหารจัดการ "พิพิธภัณฑ์แร่-หิน" (กรุงเทพมหานคร)
|-
| 6
| กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม
| สำรวจ ศึกษาวิจัยด้าน[[ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม]]และธรณีพิบัติภัย (เพื่อ[[การวางผังเมือง]] จัดการพื้นที่เสี่ยงต่อธรณีพิบัติภัย [[การกัดเซาะชายฝั่ง]]และตลิ่ง) พัฒนาระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนธรณีพิบัติภัย กำหนดมาตรฐานทางธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและธรณีพิบัติภัยของประเทศ
|-
| 7
| กองวิเคราะห์และตรวจสอบทรัพยากรธรณี
| ศึกษาวิจัยและให้บริการการวิเคราะห์และตรวจสอบตัวอย่างทรัพยากรธรณี
|-
| 8
| กองอนุรักษ์และจัดการ<br>ทรัพยากรธรณี
| เสนอการจัดทำนโยบายและแผน การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและมาตรการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู การบริหารจัดการด้านธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณี ซากดึกดำบรรพ์ ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม และธรณีพิบัติภัย, จำแนกพื้นที่แหล่งทรัพยากรธรณี พื้นที่อันควรอนุรักษ์ทางธรณีวิทยา พื้นที่เสี่ยงต่อธรณีพิบัติภัยและมลพิษ, ประสานความร่วมมือกับต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศด้านธรณีวิทยาและสาขาของธรณีวิทยา
|-
| 9
| ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
| ดำเนินการเกี่ยวกับ[[ระบบสารสนเทศ]]และคอมพิวเตอร์ เป็นศูนย์กลางเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศของกรม รวมทั้งศึกษาและพัฒนาระบบดังกล่าว, จัดทำแผนปฏิบัติการดิจิทัลให้สอดคล้องกับ "แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม"
|-
| 10
| สำนักงานทรัพยากรธรณี เขต 1 ([[ลำปาง]])
| rowspan=4 | ปฏิบัติงานเฉพาะในเขตพื้นที่ส่วนภูมิภาค อันได้แก่ สำรวจ เก็บข้อมูล ศึกษาวิจัย ประเมินศักยภาพ ให้บริการ คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์ สนับสนุนการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในด้านธรณีวิทยา ซากดึกดำบรรพ์ และธรณีพิบัติภัย ผลิตข้อมูลและแผนที่ทรัพยากรแร่ ประสานการดำเนินการเหตุฉุกเฉินด้านธรณีพิบัติภัย กำกับดูแลการคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์ การบริหารจัดการแหล่งซากดึกดำบรรพ์ [[พิพิธภัณฑ์]]ธรณีวิทยา/ซากดึกดำบรรพ์/ธรรมชาติวิทยาในเขตพื้นที่ดูแล
|-
| 11
| สำนักงานทรัพยากรธรณี เขต 2 ([[ขอนแก่น]])
|-
| 12
| สำนักงานทรัพยากรธรณี เขต 3 ([[ปทุมธานี]])
|-
| 13
| สำนักงานทรัพยากรธรณี เขต 4 ([[สุราษฎร์ธานี]])
|}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.dmr.go.th เว็บไซต์กรมทรัพยากรธรณี]
* [http://www.geo.sc.chula.ac.th/ ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]
* [http://www.geol.science.cmu.ac.th/ ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]
* [http://technology.kku.ac.th/Geo/ ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น]
 
{{กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของไทย}}