ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบวูล์ฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า เบวูล์ฟ ไปยัง เบอาวูล์ฟ: /ˈbeɪəwʊlf/
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เบวูล์ฟ" → "เบอาวูล์ฟ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Beowulf Cotton MS Vitellius A XV f. 132r.jpg|thumb|thumb|ต้นฉบับเก่าแก่ของบทกวี ''เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ'' หน้าแรก]]
 
'''เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ''' ({{lang-en|Beowulf}}) เป็น[[บทกวี]][[มหากาพย์]]เกี่ยวกับวีรบุรุษยุคอังกฤษโบราณแต่งโดยผู้ประพันธ์หลายคนที่ไม่ทราบชื่อ งานวรรณกรรม[[ภาษาแองโกลแซกซอน]]ชิ้นนี้คาดว่าแต่งขึ้นในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8<ref name="tolkien">[[เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน]] (1958). ''เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ : บทวิจารณ์แง่มุมของปีศาจ (Beowulf: the Monsters and the Critics) ''. ลอนดอน: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด</ref> ถึง 11 โดยมีต้นฉบับที่หลงเหลือมาถึงปัจจุบัน คาดว่าเขียนขึ้นในราวปี ค.ศ. 1010<ref name="kevin1">เควิน เอส. เคียร์แนน (1997). [http://www.press.umich.edu/titleDetailDesc.do?id=8599 Beowulf and the Beowulf Manuscript] Ann Arbor, MI: University of Michigan Press. ISBN 978-0-472-08412-8.</ref> มีความยาวทั้งสิ้น 3183 บรรทัด ซึ่งถือเป็นบทกวีที่มีความยาวมาก ได้รับยกย่องเป็นวรรณกรรมมหากาพย์แห่งประเทศ[[อังกฤษ]]<ref>[http://www.sras.org/news2.phtml?m=629&print=1 The Question of genre in byliny and Beowulf by Shannon Meyerhoff, 2006.]</ref>
 
เนื้อหาในบทกวี เล่าถึงวีรบุรุษชาวกีตส์คนหนึ่งชื่อ '''เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ''' และการสู้รบกับศัตรูของเขาสามตัวคือ เกรนเดล มารดาของเกรนเดล และ[[มังกร]] เขาได้รับบาดเจ็บสาหัสจากการรบครั้งสุดท้าย หลังจากเสียชีวิต บริวารช่วยกันฝังร่างของเขาไว้ในสุสานแห่งกีตส์แลนด์
 
การออกเสียงภาษาอังกฤษของชื่อนี้คือ IPA: /ˈbeɪəwʊlf/ (เบ-เออ-วูล์ฟ) แต่สระ "ēo" ถือว่าเป็นสระควบ การออกเสียงจึงมักออกเพียงสองพยางค์ และเน้นน้ำหนักที่คำแรก เป็น "เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ" (IPA: [ˈbeːo̯wʊɫf]).<ref>Mitchell, Bruce (1986). "Diphthongs", ''A Guide to Old English''. Blackwell, 14-15</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 12:
ต้นฉบับชุดนี้ได้รับความเสียหายจากเหตุเพลิงไหม้ห้องสมุดของคอตตอนที่บ้านแอชเบอร์แนม เมื่อปี ค.ศ. 1731 จากเหตุนั้น ชิ้นส่วนของต้นฉบับนี้ก็กระจัดกระจายปะปนอยู่กับจดหมายต่างๆ จำนวนมาก แม้จะมีความพยายามรวบรวมต้นฉบับและป้องกันการผุสลายอย่างไรก็ดี ต้นฉบับก็เสียหายมากยิ่งขึ้น เควิน เคียร์แนน ศาสตราจารย์ด้านภาษาอังกฤษแห่งมหาวิทยาลัยเคนตั๊กกี เป็นผู้แรกที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเก็บข้อมูลและรักษาเนื้อความต้นฉบับไว้ (คือโครงการ "Electronic Beowulf Project"<ref>[http://www.uky.edu/~kiernan/eBeowulf/guide.htm "Electronic Beowulf"]. มหาวิทยาลัยเคนตั๊กกี. เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-11-06.</ref>) โดยใช้เทคนิค backlight เพื่อตรวจดูตัวอักษรในบทกวีที่เลือนหายไป
 
เนื้อหาของบทกวีเป็นที่รู้จักแต่เพียงต้นฉบับชุดเดียวเท่านั้น ประมาณว่าเขียนขึ้นในราวปี ค.ศ. 1000 ศจ.เควิน เคียร์แนนเห็นว่าอายุของต้นฉบับนั้นเป็นอายุของฉบับคัดลอก เขาคาดว่าต้นฉบับแท้จริงน่าจะเขียนขึ้นในยุคของ Canute the Great<ref name="kevin1" /> เนื้อหาในบทกวีปรากฏดังชุดที่ปัจจุบันเรียกว่า "ต้นฉบับเบวูล์ฟของโนเวลล์เบอาวูล์ฟของโนเวลล์" (หรือฉบับหอสมุดอังกฤษ Cotton Vitellius A.xv) มีงานที่อ้างถึงต้นฉบับของโนเวลล์นี้เป็นครั้งแรกสุดในราวปี 1628 ถึง 1650 โดย Franciscus Junius คนลูก<ref name="kevin" /> แต่ส่วนผู้ครอบครองต้นฉบับที่เก่าแก่กว่าฉบับของโนเวลล์เป็นผู้ใดยังไม่อาจทราบได้<ref name="kevin" />
 
== ผู้ประพันธ์ ==
''เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ'' เป็นบทกวีที่แต่งด้วย[[ภาษาอังกฤษ]] แต่เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นใน[[สแกนดิเนเวีย]] พบการกล่าวอ้างถึงวันเวลาแตกต่างกันตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11 รูปแบบเป็นบทกวี[[มหากาพย์]]ที่เล่าเรื่องราวของวีรบุรุษ ไม่ปรากฏชื่อของผู้แต่งว่าเป็นใคร แต่รูปแบบของบทกวีและเนื้อหาทำให้คาดได้ว่าเป็นบทลำนำพื้นบ้านที่ขับร้องต่อ ๆ กันมาในหมู่พลเมือง และน่าจะมีข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์บางส่วนแฝงอยู่ในเนื้อเรื่องด้วย
 
นักวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันเกี่ยวกับลักษณะการประพันธ์ของบทร้อยกรองว่าเป็นสิ่งเกิดขึ้นร่วมสมัยกับการบันทึก หรือว่าเป็นบทกวีที่แต่งขึ้นนานมาแล้ว และเล่าปากเปล่าต่อๆ กันมานานหลายปีก่อนจะมีการบันทึกในภายหลัง ศจ.เคียร์แนนเห็นว่าบทกวีกับการบันทึกน่าจะเกิดร่วมสมัยกัน เมื่อพิจารณาจากการใช้คำและฉันทลักษณ์<ref name="kevin" /> แต่นักวิชาการจำนวนมากเห็นว่าบทกวีนี้น่าจะแต่งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หรือก่อนหน้านั้น เพราะเนื้อหาที่เอ่ยถึงชะตากรรมของชาวเดนมาร์กไม่น่าจะถูกประพันธ์ขึ้นโดยชาว[[แองโกล-แซกซอน]]ใน[[ยุคไวกิ้ง]] (คือราวศตวรรษที่ 9-10) <ref name="kevin" /> เคียร์แนนเห็นแย้งกับสมมุติฐานนี้ เพราะเช่นนั้นจะหมายความว่าบทกวีถูกแปลมาเป็น[[ภาษาแองโกล-แซกซอน]]ในยุคไวกิ้ง รวมถึงลักษณะของคำและฉันทลักษณ์ก็บ่งชี้ว่า บทกวีน่าจะประพันธ์ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 นักวิชาการที่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้เห็นว่า ต้นฉบับเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟเกิดจากการแปลและประพันธ์ขึ้นใหม่โดย[[กวี]]ในศตวรรษที่ 11 มิใช่เรื่องเล่าตามตำนานที่สืบทอดมาโดยนักบวชที่ได้รับการศึกษา<ref name="tolkien" /><ref>Heaney, Seamus (2000). ''Beowulf: A New Verse Translation''. นิวยอร์ก: นอร์ตัน.</ref>
 
== โครงเรื่อง ==
=== การรบกับเกรนเดล ===
บทกวีเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ เริ่มต้นด้วยเรื่องราวของกษัตริย์ร็อดการ์ (Hroðgar) ผู้สร้างหอเมรัยขนาดใหญ่ชื่อ เฮร็อต (Heorot) สำหรับเป็นสโมสรของพลเมือง ทั้งองค์กษัตริย์ พระชายา และบรรดานักรบต่างพากันร้องรำทำเพลง เฉลิมฉลองอยู่ในหอเมรัย จนกระทั่ง'''เกรนเดล''' ผู้ถูกขับจากชุมชน ทนไม่ไหว และเข้ามาบุกทำลายหอเมรัย กับสังหารนักรบของร็อดการ์ระหว่างหลับเสียชีวิตไปมาก แต่เกรนเดลกลับไม่กล้าแตะต้องบัลลังก์แห่งร็อดการ์ ด้วยว่าองค์กษัตริย์นั้นได้รับการพิทักษ์จากเทพเจ้า แต่ร็อดการ์กับพลเมืองของพระองค์ก็จำต้องละทิ้งเฮร็อตเสีย
 
เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟเป็นนักรบหนุ่มชาวกีตส์ เขาได้ยินเรื่องความวิบัติที่เกิดกับแผ่นดินของร็อดการ์ ต่อมาร็อดการ์ได้เชิญให้เขาเดินทางออกจากแผ่นดินของตนเพื่อมาช่วยเหลือ
 
เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟกับนักรบของเขาค้างคืนในเฮร็อต หลังจากพวกเขาหลับไป เกรนเดลก็เข้ามาโจมตี และสังหารคนของเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟไปคนหนึ่ง เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟนั้นแสร้งหลับอยู่ จึงโจนขึ้นจับแขนของเกรนเดลไว้ ทั้งสองต่อสู้กันอย่างหนักหน่วงจนหอเมรัยแทบถล่มทลาย นักรบของเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟชักดาบออกและเข้าไปช่วยเหลือ แต่ดาบของพวกเขาไม่อาจทำร้ายเกรนเดลได้เลย เพราะมันลงอาคมใส่ดาบของพวกมนุษย์ ในที่สุด เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟฉีกแขนของเกรนเดลหลุดจากร่าง ขาดจนถึงหัวไหล่ เกรนเดลหนีกลับไปยังรังของมันได้และเสียชีวิต
 
=== การรบกับมารดาของเกรนเดล ===
คืนต่อมา มีการเฉลิมฉลองใหญ่ที่เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟสังหารเกรนเดลได้ จากนั้นร็อดการ์กับคนของพระองค์ก็นอนในเฮร็อต คืนนั้นมารดาของเกรนเดลปรากฏตัวขึ้นและเข้าทำลายหอเมรัยอีก นางสังหารนักรบฝีมือดีของร็อดการ์ไปมาก โดยเฉพาะคนฝีมือดีที่สุดคือ Æschere เพื่อแก้แค้นให้เกรนเดล
 
ร็อดการ์ เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ และเหล่านักรบ สะกดรอยตามมารดาของเกรนเดลไปจนถึงรังของนางซึ่งอยู่ใต้ทะเลสาบประหลาดแห่งหนึ่ง เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟเตรียมตัวเข้าไปรบกับนาง เขาได้รับดาบวิเศษเล่มหนึ่งจากนักรบคนหนึ่งชื่อ อุนเฟียร์ธ ดาบนั้นมีชื่อว่า รุนทิง (Hrunting) หลังจากต่อรองผลประโยชน์ตอบแทน และพินัยกรรมของเบวูล์ฟแล้วเบอาวูล์ฟแล้ว เขาจึงดำน้ำลงไปในทะเลสาบนั้น เมื่อล่วงล้ำเข้าไป เขาก็ถูกมารดาของเกรนเดลโจมตีทันที แต่นางไม่สามารถทำอันตรายแก่เบวูล์ฟได้เบอาวูล์ฟได้ เพราะเขาสวมเกราะอยู่ นางลากตัวเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟลงไปยังถ้ำที่ก้นทะเลสาบ ที่ซึ่งร่างของเกรนเดลและเหล่านักรบที่ปีศาจทั้งสองสังหารไปนอนแน่นิ่งอยู่ แล้วทั้งสองก็ต่อสู้กันอย่างหนัก
 
ในช่วงแรก มารดาของเกรนเดลเป็นฝ่ายมีเปรียบ เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟพบว่าดาบรุนทิงของเขาไม่สามารถทำอันตรายต่อนางได้เลย ต่อมาเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟหันไปหยิบดาบขนาดใหญ่ในหมู่สรรพาวุธที่สะสมอยู่ในถ้ำ (ในบทกวีบอกว่า ไม่มีผู้ใดสามารถยกดาบนั้นขึ้นใช้ในการรบได้เลย) แล้วเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟจึงตัดศีรษะนางเสีย เขาสำรวจลึกเข้าไปในถ้ำจนพบร่างของเกรนเดล ก็ตัดเอาศีรษะมันมาด้วย เขาเดินทางกลับออกมาสู่ผิวน้ำอีกครั้งใน "ชั่วโมงที่เก้า" (คือเวลาประมาณบ่ายสามโมง) <ref>Jack, George. ''Beowulf: A Student Edition''. Oxford University Press, USA, 123.</ref> และเดินทางกลับไปยังเฮร็อต ร็อดการ์พระราชทานของขวัญให้แก่เขามากมาย รวมทั้งดาบ Nægling ซึ่งเป็นมรดกประจำตระกูลของพระองค์
 
[[ไฟล์:Beowulf and the dragon.jpg|thumb|ภาพวาดการต่อสู้ระหว่างเบวูล์ฟกับมังกรเบอาวูล์ฟกับมังกร โดย เจ. อาร์. สเกลตัน ค.ศ. 1908]]
=== การรบกับมังกร ===
เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟเดินทางกลับบ้าน ต่อมาเขาได้เป็นกษัตริย์ของพลเมืองของเขา จนวันหนึ่งเมื่อเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟอยู่ในวัยชรา ทาสคนหนึ่งลอบขโมยถ้วยทองคำออกมาจากรังมังกรที่ไม่ปรากฏชื่อตัวหนึ่ง เมื่อมังกรรู้ตัวว่าถ้วยทองคำถูกขโมยไป ก็ออกตามหาด้วยความโกรธแค้น และเผาทุกสิ่งทุกอย่างที่ขวางหน้า เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟกับเหล่านักรบของเขาออกมาต่อสู้กับมังกร แต่ปรากฏว่ามีเพียงนักรบหนุ่มชื่อ วิกลัฟ เพียงคนเดียว ที่กล้าออกไปร่วมรบเคียงไหล่กับเบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ เพราะคนที่เหลือพากันหวาดกลัว เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟสามารถสังหารมังกรได้ด้วยความช่วยเหลือของวิกลัฟ แต่เขาก็ได้รับบาดเจ็บสาหัสจนเสียชีวิต
 
หลังจากเผาศพแล้ว เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟถูกฝังอยู่ในกีตส์แลนด์ เหนือหน้าผาที่มองออกไปสู่ท้องทะเล ซึ่งเหล่ากลาสีสามารถมองเห็นหลุมฝังศพของเขาได้ ส่วนสมบัติของมังกรถูกฝังไปพร้อมกับเขาด้วย มิได้นำออกแจกจ่ายพลเมือง เพราะในสมบัติของมังกรมีคำสาปอยู่ นอกจากนี้ยังเป็นประเพณีของชาวเยอรมันและสแกนดิเนเวีย ในการฝังทรัพย์สมบัติไปพร้อมกับผู้ตายด้วย
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ ขุนศึกโค่นอสูร‎]]
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 49:
* [http://wikisource.org/wiki/Beowulf Wikisource:Bēowulf]
* [http://www.nvcc.edu/home/vpoulakis/Translation/beowulf1.htm ฉบับแปลภาษาอังกฤษหลายสำนวน] {{en icon}}
* [http://www.library.unr.edu/subjects/guides/beowulf.html แหล่งข้อมูลสำหรับศึกษาเพิ่มเติม เรื่อง เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ] จาก มหาวิทยาลัยเนวาดา {{en icon}}
* [http://publicliterature.org/books/beowulf/xaa.php 'เบวูล์ฟเบอาวูล์ฟ'] ฉบับงานเขียนและเสียงอ่าน
 
[[หมวดหมู่:มหากาพย์]]