ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิก[[บรรดาศักดิ์ไทย]] พระเวชยันตรังสฤษฏ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วย[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9|คณะรัฐมนตรีชุดที่ 9]] จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยเลือกใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล และนามสกุลเดิมเป็นชื่อรองว่า มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์<ref>ราชกิจจานุเบกษา [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2484/D/4525_1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกราบถวายบังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์]</ref>
 
ท่านดำรงตำแหน่งในรัฐบาล ตั้งแต่ พ.ศ. 2480 ตำแหน่งรัฐมนตรี ในรัฐบาล[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเกษตราธิการ]] (พ.ศ. 2481-2484) ในรัฐบาล[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงพาณิชย์]] (พ.ศ. 2489<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2489/A/009/77.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๑ ราย)]</ref>, 2491, 2494) [[กระทรวงคมนาคม]] (พ.ศ. 2490) ในรัฐบาล[[ควง อภัยวงศ์]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] (พ.ศ. 2500) ในรัฐบาล[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงอุตสาหกรรม]] (พ.ศ. 2507-2513) ในรัฐบาล[[จอมพลถนอม กิตติขจร]] <ref name="thaigov">[http://www.cabinet.thaigov.go.th/bb2_main11.htm ลำดับความเป็นมาของคณะรัฐมนตรีไทย จาก สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี]</ref> นอกจากนี้แล้วยังได้รับเลือกตั้งเป็น [[ส.ส.]][[จังหวัดพระนคร]] สังกัด[[พรรคเสรีมนังคศิลา]] ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500]] ด้วย<ref>หนังสือนายควง อภัยวงศ์ กับพรรคประชาธิปัตย์ โดย ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม [[พ.ศ. 2522]]</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==